DSpace Repository

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งบริเวณชายหาดบางแสน-วอนนภา โดยใช้อากาศยานไร้คนขับ

Show simple item record

dc.contributor.advisor อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.advisor กฤษนัยน์ เจริญจิตร
dc.contributor.author ตะวัน ผลารักษ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:34:29Z
dc.date.available 2023-05-12T02:34:29Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6172
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของแนวชายหาดบางแสน-วอนนภาโดยใช้อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก โดยได้แบ่งพื้นที่ศึกษาออกเป็น 4 โซน ได้แก่ โซนที่ 1 (บริเวณแหลมแท่น) โซนที่ 2 (บริเวณศาลเจ้าพ่อแสน) โซนที่ 3 (บริเวณวงเวียนบางแสน) และโซนที่ 4 (บริเวณสวนสาธารณะหาดวอนนภา) ภาพถ่ายรายละเอียดสูงแบบ RGB ที่ได้จาก อากาศยานไร้คนขบขนาดเล็ก็เริ่มทำการศึกษาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึง เมษายน พ.ศ. 2559 ในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวีนออกเฉียงเหนือ โดยมีค่าเฉลี่ยของค่า RMS errors ของภาพอยู่ที่ X =1.055 เมตร, Y= เมตร 1.308 และ Z = 0.613 เมตร จากนั้นนำภาพมาวิเคราะห์โดยสร้างเส้นขึ้นมา 2 เส้น คือ 1. เส้นแนวการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งและ 2. เส้นแนวชายฝั่งมาตรฐานเพื่อใช้เป็นเส้นอ้างอิงนำเส้นทั้ง 2 เส้นมาเปลี่ยนเป็นจุดที่มีพิกัดทางภูมิศาสตร์และหาระยะห่างระหว่างกัน ด้วยสมการ พบว่ามรสุมตะวนตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ กระแสน้ำเลียบฝั่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งและกิจกรรมของมนุษย์ผลที่ไดจากศึกษาคือ โซนที่ 1 (บริเวณแหลมแท่น) มีค่าเฉลี่ยความกว้างของชายหาดเพิ่มขึ้นประมาณ +0.17 เมตรโซนที่ 2 (บริเวณศาลเจ้พ่อแสน) มีค่าเฉลี่ยความกว้างชายหาดลดลงประมาณ -0.72 เมตรโซนที่ 3 (บริเวณวงเวียนบางแสน ) มีค่าเฉลี่ยความกว้างของชายหาดเพิ่มขึ้นประมาณ +2.80 เมตรและโซนที่ 4 (บริเวณสวนสาธารณะหาดวอนนภา) มีค่าเฉลี่ยความกว้างของชายหาดเพิ่มขึ้นประมาณ +0.17 เมตร การใช้เทคโนโลยีรูปแบบใหม่เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทำให้ได้ ข้อมูลที่มีคุณภาพ และเป็นพื้นฐานในการสำรวจชายฝั่งบางแสน-วอนนภา โดยใช้อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็กต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ชายฝั่ง -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subject เขตแดนทางทะเล -- ไทย (ภาคตะวันออก)
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.subject ชายฝั่ง -- การสำรวจ
dc.title การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งบริเวณชายหาดบางแสน-วอนนภา โดยใช้อากาศยานไร้คนขับ
dc.title.alternative The study of shoreline chnge t bngsen – wonnph bech using unmnned eril vehicle
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this study is to evaluate shoreline changes in Bangsaen-Wonnapha beach using small unmanned aerial vehicle (sUAV). The shoreline was divided into 4 zones Zone 1 (Laem Thaen) , Zone 2 (Chaopho Saen), Zone 3 (Bangsaen Circle) and Zone 4 (Wonnapha beach). The RGB images were acquired from May 2015 to April 2016. The geometry was corrected by the combination of ground referencing and air-geotag from sUAV. The Average Root Mean Square errors in X, Y and Z directions were 1.055 m, 1.308 m and 0.613 m, respectively. The shoreline changes were estimated using the calculation of distances between the baselines and shorelines. Maximum seasonal shoreline changes occurred at Zone 3 (Bangsaen Circle), average width of the beach increased approximately +2.80 meter, while the minimum changes were observed at Zone 1 (Laem Thaen) and Zone 4 (Wonnapha beach), average width of the beach increased approximately +0.17 meter . The average beach width in Zone 2 (Chaopho Saen) was reduced by -0.72 meters. The very high resolution images from sUAV indicated significant advantages for shoreline change monitoring.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account