dc.contributor.advisor |
ศิริโฉม ทุ่งเก้า |
|
dc.contributor.author |
นันทพร เหรียญเจริญ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:34:28Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:34:28Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6169 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแยกแบคทีเรียแลคติกจากกระบวนการผลิตเอทานอลที่ใช้กากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบ แล้วนำมาระบุสปีชีส์ด้วยวิธีวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน16S rRNA และศึกษาความสามารถในการสร้างไบโอฟิล์มของแบคทีเรียแลคติกแบบเชื้อเดี่ยวบนแผ่นเหล็กกล้าปลอดสนิม ASI 304 และการสร้างไบโอฟิล์มของเชื้อผสมในสภาวะการหมักจำลองที่มียาปฏิชีวนะ Monensin X ความเข้มข้น5 ppm เปรียบเทียบกับเมื่อไม่เติมยาปฏิชีวนะ พบว่าตัวอย่างมีปริมาณแบคทีเรียแลคติกอยู่ในช่วง 6.91 ถึง 8.24 log CFU ต่อมิลลิลิตร เมื่อนำมาคัดแยกพบว่าในจำนวน 7 ไอโซเลต ประกอบด้วยจีนัสเดียว คือ จีนัส Lactobacillus โดยสปีชีส์ที่พบได้แก่ L. farraginis, L. pantheris, L. farciminis, L. formosensis และ L. plantarum group แบคทีเรียแลคติกทั้ง 7 ไอโซเลต มีความสามารถในการสร้างไบโอฟิล์มแบบเชื้อเดี่ยวและพบไบโอฟิล์มของแบคทีเรียแลคติกผสมร่วมกับยีสต์ในสภาวะการหมักจำลอง และการเติม Monensin X ความเข้มข้น 5 ppm ทำให้ปริมาณไบโอฟิล์มของแบคทีเรียแลคติกผสม มีค่าลดลงเฉลี่ย 81.13% เมื่อบ่มนาน 48 ชั่วโมง แบคทีเรียแลคติกที่พบมากในไบโอฟิล์มของเชื้อผสมมี 2 สปีชีส์ ได้แก่ L. farraginis และ L. parafarraginis |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
เชื้อเพลิงเอทานอล -- การผลิต |
|
dc.subject |
เชื้อเพลิงเอทานอล |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.title |
การสร้างไบโอฟิล์มของแบคทีเรียแลคติกและการควบคุมโดยใช้โมเนนซินเพื่อผลิตเชื้อเพลิงเอทานอล |
|
dc.title.alternative |
Biofilm formtion of lctic cid bcteri nd control by monensin for fuel ethnol production |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this study were to isolate lactic acid bacteria (LAB) from a commercial ethanol plant using molasses as the raw material and to identify LAB by 16S rRNA sequencing method and evaluate their abilities to form monoculture biofilm on ASI 304 stainless steel as well as formation of mixed LAB-yeast biofilm under simulated ethanol production with 5 ppm Monensin X antibiotic and without antibiotic addition. The results showed that all samples were contaminated with LAB, ranging from 6.91 to 8.24 log CFU/ml. Seven predominant LAB isolates were found to be to solely genus Lactobacillus and were identified as L. farraginis, L. pantheris, L. farciminis, L.formosensis and L. plantarum group. The seven Lactobacilli showed abilities to form monoculture biofilm on stainless steel. Moreover, mixed-biofilm of LAB and yeast was also observed under simulated ethanol production. The addition of Monensin X reduced the amount of biofilm by averaged 81.13% after 48 incubation. L. farraginis and L. parafarraginis were the most prevalent species in the mixed culture biofilm. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|