DSpace Repository

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนผู้รับซื้อทุเรียนและล้งจีนในจังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor กฤช จรินโท
dc.contributor.author จอนนี่ สว่างศรีสกุลพร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:27:39Z
dc.date.available 2023-05-12T02:27:39Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6147
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ซึ่งกำลังถูกแทรกแซงจากกลุ่มนายทุนจีนเข้ามาตั้งโรงคัดบรรจุผลไม้ (ล้ง หรือ ล้งจีน) เพื่อรับซื้อผลไม้ไทยและส่งออกไปสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่งผลให้มีการครอบงำการค้าผลไมไทยทางผู้วิจัยจึงมีแนวคิดว่า ควรมีการจัดการทุเรียนหลังการเก็บเกี่ยวให้มีคุณภาพ พร้อมส่งไปยังตลาดปลายทางในประเทศต่าง ๆ เป็นที่ยอมรับของตลาด เพื่อหยดุยั้งการผูกขาดโดยล้งจีน จึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน ผู้รับซื้อทุเรียนและล้งจีน โดยใช้วิธีเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกกับเกษตรกร จำนวน 17 คน และผู้รับซื้อนำนวน 3 คน ในจังหวัดจันทบุรี ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรมีความรู้ในการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวทุเรียน แต่ไม่สามารถ ได้เนื่องจากปัจจัยทางด้านเงินทุน และการส่งออกไปยังต่างประเทศ ส่วนผู้รับซื้อทุเรียนพบว่า มีความริ้ธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวแต่ไม่สามารทำการตลาดที่สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ เนื่องจากมีกลุ่มอิทธิพลดูแลการส่งออกทุเรียนประเทศอื่น ๆ นั้นทำได้ยากเนื่องจากกฎหมาย ระหว่างประเทศด้านการส่งออกแต่ปัจจุบันที่ชาวจีนทำได้เพราะนำเข้าไปขายเองไม่ต้องตรวจตามกฎหมาย การที่เกษตรกรหรือผู้รับซื้อชาวไทยบุกตลาดที่จีนนั้นเป็นไปได้ยากด้วยกฎหมายทางการค้าเรื่องผักผลไม้ ที่มีการตรวจเข้มข้นในเรื่องสารพิษตกค้าง มาตรฐานขนาดลูก ภาษีในการนำเข้าล้วนแต่เป็นการกีดกันทางการค้าในอนาคตหากประเทศไทยต้องการบุกตลาดที่นอกเหนือจากจีน ต้องการใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหารมาพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์จากทุเรียน เพื่อเพิ่มตลาดการบริโภคให้มากขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ทุเรียน -- การเก็บเกี่ยว -- จันทบุรี
dc.subject ทุเรียน -- การส่งออก -- จีน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.title การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนผู้รับซื้อทุเรียนและล้งจีนในจังหวัดจันทบุรี
dc.title.alternative Study of reltionship between durin griculturists nd durin trder's wrehouses nd Chinese trders in Chnthburi province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Durian is one of crucial economic fruits. Currently, Thai fruit trading was intervened from Chinese investors into the packing fruit (Long or Chinese Long) in order to buy Thai fruits and export to People's Republic of China. Thai fruit trade was dominated .It should be a quality management to be accepted from other countries after harvesting, and set durians ready for destination markets. This could cease monopoly by Chinese traders' warehouse. The relationship between durian agriculturists, durian buyer and Chinese traders were studied. Using data collected by in-depth interviews with 17 durian agriculturists and buyers of 3 in ChanthaburiProvince. The results reveal that the majority of agriculturists had knowledge in harvesting management but could not manage their harvested fruit because the financial factors and export factors. For durian buyers, it was found that they knew how to manage after harvesting but they could make the market atPeople's Republic of China because the pressure group took care of this market. It was difficult for Thai traders to export durian to People's Republic of China because of the international trade law. There was no legal investment when the trade was conducted by Chinese traders. The Chinese law on the trade of fruit and vegetable, intensive investigation for remained toxin, fruit size, and import customs was considered a trade barrier. In the future, if Thai traders would like to export to other countries apart from China, they need to have the knowledge on food science and technology to preserve durian in order to increase marketshare.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account