dc.contributor.advisor |
จเร จรัสจรูญพงศ์ |
|
dc.contributor.advisor |
อนันต์ อธิพรชัย |
|
dc.contributor.author |
สมฤทัย พาที |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:25:50Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:25:50Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6135 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสารพฤกษเคมี ปริมาณสารประกอบฟี นอลิกรวม สารประกอบฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ทางชีวภาพ และองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดหยาบใน ตัวทำละลายเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน เอทิลอะซีเตต เมทานอล และน้ำมันหอมระเหยจากการกลั่น ด้วยน้ำจากส่วนเหง้าของเนระพูสีไทย (Tacca chantrieri) ผลการศึกษาสารพฤกษเคมีของสารสกัด หยาบด้วยตัวทำละลายชนิดต่างๆ พบสารพฤกษเคมี จำนวน 6 กลุ่ม ได้แก่ ฟลาโวนอยด์ คูมาริน ซาโปนิน เทอร์ปีนอยด์ สเตียรอยด์ และคาร์ดิแอคไกลโคไซด์ การหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิก และปริมาณฟลาโวนอยด์รวมของสารสกัดหยาบด้วยเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน เอทิลอะซีเตต และ เมทานอล และน้ำมันหอมระเหย ด้วยวิธี Folin-Ciocaltue โดยใช้กรดแกลลิก (gallic acid) เป็นสาร มาตรฐาน และวิธี aluminium trichloride (AlCl3) colorimetric โดยใช้เคอร์ซิติน (Qurecetin) เป็น สารมาตรฐาน ตามลำดับ พบว่าสารสกัดหยาบด้วยตัวทำละลายเอทิลอะซิเตตมีปริมาณฟีนอลิกรวม สูงที่สุด (5.20±0.02 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อน้ำหนักสารสกัดแห้ง 1 กรัม) ขณะที่สาร สกัดหยาบด้วยตัวทำละลายเมทานอลมีปริมาณฟลาโวนอยด์รวมสูงที่สุด (33.64±1.27 มิลลิกรัม สมมูลของเคอร์ซิตินต่อน้ำหนักสารสกัดแห้ง 1 กรัม) การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH free radical scavenging พบว่าส่วนสกัดหยาบด้วยตัวทำละลายเอทิลอะซิเตตแสดงฤทธิ์ต้านอนุมูล อิสระสูงที่สุด ที่ความเข้มข้น 650 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร (58.70±0.01%) และจากการศึกษาฤทธิ์ ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไทโรซิเนสของส่วนสกัดหยาบเนระพูสีไทยด้วยตัวทำละลายชนิด ต่างๆ โดยใช้ L-DOPA เป็นซับสเตรต พบว่าที่ความเข้มข้น 1,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ทุกส่วน สกัดหยาบไม่มีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไทโรซิเนส การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ของส่วนสกัดหยาบเนระพูสีไทยด้วยตัวทำละลายชนิดต่างๆ พบ กรดไมริสติกในสารสกัดหยาบ เฮกเซน ของผสมระหว่าง เบต้า-ซิโตสเตอรอล และ สติกมาสเตอรอล พบในสารสกัดหยาบ ไดคลอโรมีเทน โดยพิสูจน์โครงสร้างสารที่แยกได้ด้วยเทคนิคสเปกโทรสโคปี |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ดีปลาช่อน |
|
dc.subject |
ว่าน |
|
dc.subject |
ว่านพังพอน |
|
dc.subject |
เนระพูสีไทย |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา |
|
dc.title |
องค์ประกอบทางเคมี และฤทธิ์ทางชีวภาพจากเหง้าของเนระพูสีไทย |
|
dc.title.alternative |
Chemicl constituents nd biologicl ctivities of Tcc chntrieri rhizom |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research was to study was performed to evaluate the phytochemical screening, total phenolic content, flavonoid content, biological activities and chemiscal constituents of hexane, dichloromethane, ethyl acetate, methanol extracts and essential oils by water distillation from Tacca chantrieri rhizome. The results of this study showed that six groups of phytochemicals were observed including flavonoids, coumarins, saponins, terpenoids, steroids and cardiac glycosides. Total phenolic and flavonoid content of all extracts of T. chantrieri were evaluated by Folin-Ciocaltue method using gallic acid as chemical standard and aluminium trichloride (AlCl3) colorimetric method using Qurecetin as chemical standard, respectively. The results indicated that the ethyl acetate extract contained the highest total phenolic content (5.20±0.02 mgGAE.g-1). The methanol extract showed the highest total flavonoid content (33.64±1.27 mgQE.g-1). The highest antioxidant activity at 625 μg/mL using DPPH free radical scavenging method was obtained by T. chantrieri ethyl acetate extract (58.70 ± 0.01%). All extracts of T. chantrieri were evaluated anti-tyrosinase activity using L-DOPA substrate and kojic acid as standard. Unfafunately, all extracts of this plant at concentration of 1,000 μg/mL showed no inhibitory activity. The isolation and structure elucidation of hexane, dichloromethane and ethyl acetate extracts from T. chantrieri were also studied. The results showed that myristic acid was isolation from hexane extracts. The mixture of beta-sitosterol and sitgmasterol observed from dicholomethane extracts. All isolation compounds were characterized by spectroscopic techniques. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
เคมีศึกษา |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|