DSpace Repository

การศึกษากระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ ด้วยการจัดการเรียนรู้ผ่านสะเต็มศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศิริรัตน์ ชาญไววิทย์
dc.contributor.advisor สนธิ พลชัยยา
dc.contributor.author มนัส ชวดดา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:25:49Z
dc.date.available 2023-05-12T02:25:49Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6130
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เตรียมชุดตรวจวัดออกซิเจนละลายในน้ำสำหรับใช้ ในภาคสนามและประเมินประสิทธิภาพโดยเทียบกับวิธีมาตรฐาน (2) ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ค่ายวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ โดยนำ ชุดตรวจวัดออกซิเจนละลายในน้ำ ที่เตรียมขึ้นมาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ผ่านสะเต็มศึกษา และ (3) ศึกษากระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ค่าย วิทยาศาสตร์ เรื่อง ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ ด้วยการจัดการเรียนรู้ผ่านสะเต็มศึกษา กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จากโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 146 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 50 คน โดยได้จาก อาสาสมัคร ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดตรวจวัดปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสำหรับใช้ในภาคสนามที่ เตรียมขึ้นกับวิธีมาตรฐานไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ความเชื่อมั่น 95% (2) จากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่ากิจกรรมการเรียนรู้ค่ายวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปริมาณ ออกซิเจนละลายในน้ำด้วยการจัดการเรียนรู้ผ่านสะเต็มศึกษาที่ออกแบบขึ้นมีความสอดคล้องตาม แนวทางสะเต็มศึกษาและมีกระบวนการที่เป็นไปตามรูปแบบของกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรมโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.60-1.00 (3) นักเรียนที่ผ่านการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ค่ายวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำด้วยการจัดการเรียนรู้ผ่านสะเต็มศึกษา เกิดกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมผลการประเมินในภาพรวมทั้ง 5 ขั้นอยู่ในระดับดีมาก
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การทดลอง (มัธยมศึกษา)
dc.subject ออกซิเจน -- การวิเคราะห์
dc.subject การออกแบบการทดลอง
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.title การศึกษากระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ ด้วยการจัดการเรียนรู้ผ่านสะเต็มศึกษา
dc.title.alternative The study of engineering design process of grde 9th students on dissolved oxygen fter conducting stem eduction ctivity
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objectives of this research were: (1) to prepare dissolved oxygen test kit, which was used by students . The test kit was evaluated by compared to the standard methods, (2) to design learning activities by survey water quality from different sources in school using dissolved oxygen test kit. in combination with STEM learning model, which was used for scientific camp for students in Mathayom 3, and (3) to evaluate the engineering design process study groups . Fifty volunteers were randomly selected from 146 Mathayom 3 students in, Takli Prachasan School, Nakhonsawan Province during the first semester of 2015. The results were as follows. (1) There were no significant differences between the dissolved oxygen test kit and the standard methods. (2) the activities specifically designed for the field followed the STEM model and the engineering design process. The results of which the IOC is between 0.60 to 1.00. (3) The Results showed that engineering design process increased for their overall performance.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline เคมีศึกษา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account