DSpace Repository

ศึกษาทางเลือกการตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมเพื่อการประหยัดพลังงาน

Show simple item record

dc.contributor.author มานพ แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:52:00Z
dc.date.available 2019-03-25T08:52:00Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/600
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ทำขึ้นเพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้เครื่องปรับอากาศในที่พักอาศัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพา 2) เปรียบเทียบการใช้พลังงานไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศในระดับของอุณหภูมิที่แตกต่างกันในที่พักอาศัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาพฤติกรรมการใช้เครื่องปรับอากาศได้แก่ บุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพาที่พักอยู่ในบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยรัศมีไม่เกิน 3 กิโลเมตร จำนวน 100 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองด้านการใช้พลังงานไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ ได้มาจากการเลือกกลุ่มบุคลากรจากกลุ่มตัวอย่างที่อนุญาตให้ผู้วิจัยเข้าไปดำเนินการติดตั้งมาตรวัดไฟฟ้าให้กับเครื่องปรับอากาศในที่พักอาศัยได้ จำนวน 15 คน (15บ้าน) การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย จากการศึกษาและทดลองได้สรุปผลดังนี้ พฤติกรรมการใช้เครื่องปรับอากาศฉ 1. การปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศเวลานอน ร้อยละ 76 ปรับอุณหภูมิที่ระดั 25C ร้อยละ14 ปรับอุณหภูมิที่ระดับ 26C และ ร้อยละ 10 ปรับอุณหภูมิที่ระดับ 27C ซึ่งแต่ละคนให้ความเห็นว่าการที่เขาตั้งอุณหภูมิในระดับนั้นๆ เป็นอุณหภูมิที่เขารู้สึกว่าสบายดีและพอใจ 2. พบว่า ร้อยละ 65 ของผู้ใช้เครื่องปรับอากาศเข้าใจว่าการตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ระดับ 25C จะประหยัดพลังงานไฟฟ้ามากที่สุด และร้อยละ 35 เข้าใจว่าการตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ระดับสูงกว่า 25 C ประหยัดพลังงานไฟฟ้ามากที่สุด ด้านพลังงานไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศในที่พักอาศัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปกับเครื่องปรับอากาศทั้งสามขนาด คือขนาด 9,000 Btu/h (0.75ตัน) 12,000 Btu/h (1 ตัน) และขนาด 18,000 Btu/h (1.5 ตัน) เครื่องปรับอากาศทุกขนาดที่ตั้งอุณหภูมิใช้งานที่ 25C จะเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากกว่าตั้งอุณหภูมิใช้งานที่ 26C และการตั้งอุณหภูมิใช้งานที่ 26C จะเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากกว่าตั้งอุณหภูมิใช้งานที่ 27C th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การปรับอากาศ - - วิจัย th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.subject เครื่องปรับอากาศ - - วิจัย th_TH
dc.title ศึกษาทางเลือกการตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมเพื่อการประหยัดพลังงาน th_TH
dc.title.alternative A study to find the optimum air-conditioner temperature that is comfortable and consuming minimum power th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative To advocate the power saving campaign this research was done to find out : 1. How the Burapha University human resources used air-conditioners in their residences ; 2. The difference in power consumption when setting the air-conditioners at different temperatures. Samples were 100 Burapha University human resources living not more than 3 kilomaeters in vicinity. For power consumption, 15 samples were chosen from Burapha University human resources who permitted the researcher to install a Watt-hour meter at their air- conditioners to check the amount of power used. The data analysis was made by percentile and mean. The outcome as the following 1. As to how the Burapha University human resources used air-conditioners in their residences, it was found that 76 % set their air-conditioners at 25C ,14 % at 26C and 10 % at 27C. Each sample said the temperature they set was because they found it comfortable and they were happy with it. 2. 65 % of those who used air-conditioners believed that 25C was most economized; 35 % understood that setting the temperature at higher than 25C would most economized. 3. For those who set the temperature at 25C : 80 % supported the power saving campaign being conveyed by various mass media that an air-conditioner be set at 25C for the optimum result. Nevertheless, 20 % did to at will. As to the power consumed of the Burapha University human resources residences, three sizes of air-conditioners were used for experiment : 9,000 Btu/h (0.75 ton) 12,000 Btu/h ( 1 ton ). It was found that the amount of the power consumed was in relation with the size of the air-conditioner. The was, an air-conditioner set at 25C would consume more power than that at 26C would consume more power than that at 26C and one set at 26C would consume more power than that at 27C respecyively. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account