DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบ ที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออก: จันทบุรี ระยอง และพัทยา

Show simple item record

dc.contributor.author สมชาย เดชะพรหมพันธุ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:57Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:57Z
dc.date.issued 2530
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/559
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบภาวะของที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองจันทบุรี ระยอง และพัทยา ในด้านทำเลที่ตั้งและรูปแบบการกระจาย การก่อตัว การขยายตัวและแนวโน้มทางการขยายตัว ภูมิลำเนาเดิมของผู้มีรายได้น้อยและรูปแบบของการอพยพเข้าสู่ชุมชนเมืองทั้งสาม สถานภาพทางครอบครัว ลักษระของอาคารบ้านเรือน แรงจูงใจที่ชักนำให้มีการตั้งถิ่นฐานในตำแหน่งนั้น ๆ และปัญหาที่เกิดกับชุมชนที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย วิธีการศึกษาข้อมูลได้จากเอกสาร ภาพถ่ายทางอาการ และการสัมภาษณ์ภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการทางสถิติ ค่าร้อยละ กราฟ หาแนวโน้มโดยสมการ Exponential และวิธีการทางแผนที่ ผลการศึกษา 1. ผู้มีรายได้น้อยในทั้งสามชุมชนเมืองนิยมเลือกทำเลที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้กับแหล่งงานที่ใหญ่ที่สุดของเมือง คือศูนย์กลางธุรกิจการค้าหลักของเมือง โดยมีรูปแบบการกระจายรายล้อม ศูนย์กลางธุรกิจการค้าหลักของเมืองบนพื้นที่ราบที่เป็นกรรมสิทธิของเอกชนมากที่สุด และมีความสะดวกในการเข้าออกน้อย 2. มีชุมชนผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองทั้งสามก่อตัวมาแล้วตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2510 มีความสอดคล้อมกันมากในด้านการขยายตัวมากในช่วงระยะเวลาระหว่างปี 2525-2529 ซึ่งเป้นช่วงเริ่มโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก คาดว่าในช่วงระยะเวลาระหว่างปี 2530-2534 จะมีการเพิ่มจำนวนที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยอีก 1 เท่าตัวของจำนวนในปี พ.ศ. 2525-2529 3. ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองทั้งสาม เป็นผู้มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ในจังหวัดเดียวกันกับชุมชนเมืองที่ทำการศึกษา และชุมชนเมืองทั้งสามสามารถดึงดูดผู้มีรายได้น้อยจากจังหวัดอื่น ๆ ได้มากถึงประมาณครึ่งหนึ่ง ผู้มีรายได้น้อยมีภูมิลำเนาเดิมจากภาคต่าง ๆ (เรียงลำดับตามจำนวน) คือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ มีความแตกต่างกันในความนิยมของผู้มีรายได้น้อยจากภาคต่าง ๆ ที่มุ่งเข้าสู่ชุมชนเมืองทั้งสาม และเป็นการอพยพของผู้ที่มีประสบการณ์เป็นชาวเมืองเข้าสู่ชุมชนเมืองทั้งสามมากกว่าผู้ที่มีประสบการณ์จากชาวชนบท 4. หัวหน้าครอบครัวของผู้มีรายได้น้อยในทั้งสามชุมชนเมืองมีความสอดคล้องกันดังนี้ ผู้มีรายได้น้อยส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป มีวุฒิทางการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 มีอาชีพรับจ้างแรงงาน มีขนาดของครอบครัวงเป็นขนาดกลางขึ้นไปและรายได้ต่อเดือนนั้นผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองพัทยาและจันทบุรีมีรายได้มากกว่าผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองระยองประมาณเดือนระ 1,000 บาท 5. 6. 7.ผู้มีรายได้น้อยในทั้งสามชุมชนเมือง มีปัญหาการขาดแคลน
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คนจน - - ที่อยู่อาศัย - - จันทบุรี th_TH
dc.subject คนจน - - ที่อยู่อาศัย - - พัทยา th_TH
dc.subject คนจน - - ที่อยู่อาศัย - - ระยอง th_TH
dc.subject ที่อยู่อาศัย - - ไทย (ชายฝั่งทะเลตะวันออก) th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบ ที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออก: จันทบุรี ระยอง และพัทยา th_TH
dc.title.alternative Comparative study of low income residential in eastern sea shore cities : chanthaburi, Rayong and Pattaya en
dc.type Research
dc.year 2530


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account