DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบการสักของไทยกับของญี่ปุ่น

Show simple item record

dc.contributor.author นันท์ชญา มหาขันธ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:56Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:56Z
dc.date.issued 2540
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/547
dc.description.abstract การสักเป็นเรื่องราวที่มีความลึกลับซับซ้อน และอยู่ในความสนใจของคนทั่วโลก มาเป็นเวลามาช้านาน ทั้งนี้มิใช่แต่ในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น จุดมุ่งหมายของการวิจัยครั้งนี้เพื่อเป็นการศึกษาเปรียบเทียบกันระหว่างการสักของไทยและการสักของประเทศญี่ปุ่น ในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ ความมุ่งหมายของการสัก ลักษณะของการสัก รูปรอยในการสัก การใช้สัญลักษณ์ ความเชื่อ เครื่องมือที่ใช้ในการสัก กรรมวิธีในการสัก ตำแหน่งที่สัก ผู้ทำการสัก และการปฏิบัติภายหลังการสัก ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้รวบรวมมาจากตำรา เอกสาร ทั้งของไทยและของต่างประเทศ รูปรอยของการสัก และการสำรวจ การวิเคราะห์ข้อมูล กระทำการด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การสักของไทยกับของญี่ปุ่น มีความเหมือนกันในบางเรื่อง และมีความแตกต่างกันในบางเรื่อง สำหรับรายละเอียดมีปรากฏในรายงายวิจัยฉบับสมบูรณ์ ข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างการสักของไทยกับการสักของญี่ปุ่นได้แก่ เรื่องความมุ่งหมายในการสักและลักษณะของการสัก การสักของไทยกระทำเนื่องจากความเชื่อเรื่องโชคลางของขลัง และพิธีกรรมต่างๆ เช่น อำนาจลึกลับ มหัสจรรย์ต่างๆ ความศักดิ์สิทธ์ โชคลาภ เมตตามหานิยม ความมีอายุยืน ความมีเสน่ห์เป็นที่รักของคนทั่วไป ความแคล้วคลาดจากภัยอันตรายทั้งปวงตลอดจนความมีหยังเหนียว ศาสตรวุธไม่สามารถทำอันตรายได้เป็น สำหรับรูปรอยที่สักก็ได้รับการอออกแบบเพื่อความขลัง ความศักดิ์สิทธ์ เช่นกัน รูปรอยสักที่สักเหล่านี้ได้แก่คาถาและยันต์ หรือรูปอื่นๆอันได้แก่เทพเจ้า สัตว์ พืช และสิ่งของ ช่างสักบางคนผสมน้ำมันหรือสมุนไพรลงในหมึกเพื่อให้รอยสักมีความขลัง อาจารย์สักบางคนโดยเฉพาะอาจารย์ที่เป็นพระมีการบริกรรมคาถาในระหว่างการสักด้วย ทั้งนี้เพื่อให้รอบสักมีความขลัง ความศักดิ์สิทธ์ ตามต้องการ การสักของญี่ปุ่นมีเอกลักษณ์โดยเฉพาะของตนเองทั้งในด้านการออกแบบรูปรอยสักตลอดจนความละเอียดประณีตในกาวสัก จึงจัดได้ว่าเป็นงานที่มีความสำคัญระดับชาติ คำว่าการสักเป็นศิลปะที่เรียกว่า อิเระมิซึ โดยศัพท์ หมายถึง การสอดหมึก หากเป็นคำที่ดูเก่าแก่และสละสลวยกว่านั้น ใช้คำว่า โฮะริโมะโนะ หมายถึงสิ่งที่ถูกจำหลัก อันได้แก่ ผิวหนังของมนุษย์ที่ถูกจองจำรูปรอยลงไป ในญี่ปุ่นความมุ่งหมายหลักของการสักได้แก่ การประดับตกแต่งร่างกาย การสักส่วนใหญ่ไม่ส่วนจะเป็นการสักแบบเต็มตัว หรือครึ่งตัวรูปรอยที่สึกส่วนใหญ่ได้แก่เทพเจ้า วีรชนในนิยาย สัตว์ในตำนาน พืช และสิ่งของ รอยสักของญี่ปุ่นส่วนใหญ่ได้รับการออกแบบมาจากหนังสือนิยายที่ชื่อว่า ซูอิโคเดน แบะตัวละครคาบุกิทั้งนี้เพื่อแสดงค่านิยมทางจิตวิญญาณเช่นความอดทนความกล้าหาญ ความอดทนบึกบึน ความมีใจเมตตา และความซื่อสัตย์ การสักของญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีแบบแผนและเอกลักษณ์ของตัวเอง และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางของผู้นิยมการสักทั่วโลก th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ประจำปี 2539 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การสัก - - ญี่ปุ่น th_TH
dc.subject การสัก - - ไทย th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบการสักของไทยกับของญี่ปุ่น th_TH
dc.title.alternative comparative study of the Thai and the Japaness tattooing en
dc.type Research th_TH
dc.year 2540
dc.description.abstractalternative Abstract Tattooing has long been interested and mysterious matte not only in Thailand and Japan but it is a worldwide popularity. The purpose of this research was to compare the similarities and the differences between the Thai and the Japanese tattooing in the following aspects : purpose, forms, designs, symbols, believes, instruments and equipments, methods , positions, tattooists and the do and don’t after tattooing. Data were gathered from documents, artifacts and surveys. The data were analyzed by mean of content analysis. Result of the study revealed that the Thai and the Japanese tattooing were similar in some aspects as shown comprehensively in the research report. But the main points of the differences were the purpose and the forms of tattooing. To the Thai tattooing, it was for superstitious purpose accompanied with talisman and magical rite such as miraculous powers, efficacy, good fortune, popularity, longevity, glamour, survival, unbeatable tough skin, could not be wounded by weapons. Tattoo designs for magical purpose were another matter. They were abbreviated sacred words or sacred figures: gathaoryanta that were specific to the tattoo. The other designs were gods, animal, plants and objects. Some tattooists put the specific kind of essential oil or herbal medicine into the color ink to male the tattoo miraculously powerful. Some tattooists especially a priest incanted the ‘Gatha’ (sacred works) in magic spells as a ritual practice while tattooing to produce magical or supernatural effect. As the Japanese tattoing, it was most strongly associated on a national basis. This was because it was within Japan most unified basis. Mostly densely applied, most finely detail and most completely covering applied, most finely detail and most completely covering tattoos were found. In Japan tattoo were the art of Irezumi, literally meaning the ‘insertion of ink’ or more classically and elegantly hori-mono, meaning something which is ‘carved’ ‘sculpted’ or ‘engraved’. Japan the main purpose of tattooing was bodily decoration. Among the Japanese style full-body or halt-tattooing, the designs were gods, oval heroes, mythological animals, plants and objects. Most of the Japanese tattoos were designed around the tenets of the Suikoden or inspired by Kabuki plays and tend to glorify spiritual values such as patience, courage, perserveravce, generosity and loyalty. The Japanese tattooing had had the specific form. Despite the popularity of the tattooing worldwide, within the minds of most people, the Japanese styled tattoo was unique and a world-renowned among the tattoo fanatics. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account