dc.contributor.author |
นำโชค วรศิลป์ |
|
dc.contributor.author |
วงพักตร์ ภู่พันธ์ศรี |
|
dc.contributor.author |
สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ |
|
dc.contributor.author |
ธีระพงษ์ ภูริปาณิก |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-08T08:33:02Z |
|
dc.date.available |
2022-08-08T08:33:02Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.issn |
1906-506X |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4642 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ที่มีต่อการเข้ามาของระบบธุรกรรมการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (กรณีศึกษา : พนักงานธนาคารกรุงเทพกลุ่มสาขาในพัทยา) โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือพนักงานธนาคารกรุงเทพในเขตเมืองพัทยา ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 118 คน เครื่องมือวิจัยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า พนักงานมีการปรับตัวในการทำงานรูปแบบธุรกรรมการเงินอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ซึ่งมีส่วนน้อยที่ยังมีการเรียนรู้เพิ่มเติมในระบบการทำงาน ด้านการปรับตัวในด้านร่างกาย พบว่า พนักงานธนาคารกรุงเทพทุกคนมีการแบ่งแบ่งเวลาในการพักผ่อนและออกกำลังกายมากขึ้น เพื่อลด ความเสี่ยงในการทำธุรกรรมการเงินอันเป็นผลดีต่อไปกับการปฏิบัติงานเป็นระยะเวลายาว (ค่าเฉลี่ย = 3.55) ด้านการปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ พบว่า พนักงานทุกคนมีการเรียนรู้และยอมรับการเปลี่ยนแปลงของระบบธุรกรรมการเงินในอนาคตเพื่อตอบสนองความต้องการในปัจจุบัน ไม่นำปัญหาส่วนตัวเข้ามายุ่งเกี่ยวกับ การทำงานระหว่างวัน (ค่าเฉลี่ย = 3.63) ด้านบทบาทหน้าที่ พบว่า พนักงานมีการเรียนรู้และฝึกอบรมการทำงานอยู่เสมอ เข้าใจในบทบาทการทำงานของตนเองไม่ยุ่งเกี่ยวสิ่งอื่นเพื่อให้เป็นไปตามมาตราฐานขององค์กร (ค่าเฉลี่ย = 3.74) และด้านพึ่งพาระหว่างกันและกัน พบว่า พนักงานทุกคนใส่ใจในรายละเอียดของเพื่อนร่วมงานมากขึ้น และให้ความรู้ความเข้าใจของระบบงานใหม่อยู่เสมอทำงานเป็นทีม ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพและเกิดผลสำเร็จสูงสุด (ค่าเฉลี่ย = 3.92) และปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) พบว่า ปัจจัยทางเพศ อายุ สถานภาพ การศึกษา รายได้ และตำแหน่ง ไม่มีผลต่อการปรับตัวของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ปัญหาและข้อเสนอแนะ การเข้ามาของระบบธุรกรรมการเงินอิเล็กทรอนิกส์เป็นการพัฒนาอย่างรวดเร็วซึ่งส่งผลให้การทำงานจะต้องมีการปรับเปลี่ยนไปในทิศทางที่แตกต่างจากเดิม ซึ่งธุรกรรมการเงินอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นการเปิดการมุ่มมองของธนาคารในอนาคต เพื่อเปลี่ยน แปลงการใช้ชีวิตทางการเงินให้มีความทันสมัยและก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพื่อตอบโจทย์การใช้ชีวิตของคนในปัจจุบัน ทำให้ธนาคารกรุงเทพมีการจัดการฝึกอบรมพนักงานให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบการทำงานรูปแบบใหม่อยู่ตลอดเวลา ให้คำแนะนำกับประชาชนในการใช้งานระบบธุรกรรมการเงินเพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งาน ตลอดจนสิทธิประโยชน์ของประชาชนที่ใช้บริการกับทางธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
พนักงานธนาคาร |
th_TH |
dc.subject |
การปรับตัว (จิตวิทยา) |
th_TH |
dc.subject |
การรู้คิด |
th_TH |
dc.title |
ปรับตัวของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ที่มีต่อการเข้ามาของระบบธุรกรรมการเงินอิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษา : พนักงานธนาคารกรุงเทพกลุ่มสาขาในพัทยา |
th_TH |
dc.title.alternative |
Adaptation of Bangkok Bank Public Company Limited employees on the entry of electronic financial transactions, case study: Bangkok Bank employees in Pattaya branch |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
3 |
th_TH |
dc.volume |
12 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to study the adaptation of Bangkok Bank Public Company Limited employees towards the introduction of electronic financial transactions, Case study: Bangkok Bank employees in Pattaya Branch. The study is quantitative research. The population of research are the employees of Bangkok Bank in Pattaya city area. The instrument of research is the questionnaire with analyze by the descriptive statistics. The results of research indicate that the employees are more adaptable to work in electronic financial transactions. There are a few who are also learning more in the system. Physical Adaptations: all of Bangkok Bank employees have more time to relax and exercise in order to reduce the risk of financial transactions with longer operating time (average = 3.55). Self-adaptation founds that all employees are learning and accepting changes in the financial transaction system in the future to respond the current needs, not to interfere with personal work during the day (average = 3.63). The roles that employees have to learn and train for working, to understand their roles, not to interfere with other things in order to the standards of the organization (average = 3.74). Interacting with each other, all employees pay close attention to the details of their colleagues and give them for the knowledge and understanding of the new system, working as a team for the resulting in maximum efficiency and successful (average = 3.92). The factors which are affecting to the adaptation of Bangkok Bank employees, found sex, age, status, education, income and position do not affect to the adaptation of Bangkok Bank Public Company Limited employees. Problems and Suggestions The entry into the electronic financial transactions system is rapidly evolving, that affecting in a change in direction. Electronic financial transactions will open up the vision of bank in future. To change the financial life to modern and advanced technology and respond the current life of people. Bangkok Bank has trained staff to be knowledgeable in the new system at all times. For advises people on the use of financial transactions to facilitate their use. As well as the benefits of people using the service with Bangkok Bank Public Company Limited. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law |
th_TH |
dc.page |
385-402. |
th_TH |