dc.contributor.author |
ศิรประภา ฟ้ากระจ่าง |
|
dc.contributor.author |
วรเทพ มุธุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
ปรารถนา ควรดี |
|
dc.contributor.author |
ดวงทิพย์ อู่เงิน |
|
dc.contributor.author |
ชนะ เทศคง |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-01T06:00:51Z |
|
dc.date.available |
2022-08-01T06:00:51Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.issn |
2351-0781 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4599 |
|
dc.description.abstract |
เพื่อศึกษาชนิดของอาหาร และระยะเวลาการเปลี่ยนอาหารที่เหมาะสมต่ออัตรารอด และการเจริญเติบโตของกุ้ง เมดูซาวัยอ่อน Latreutes anoplonyx เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการอนุบาลลูกกุ้งเมดูซาให้มีการเจริญเติบโตสูงขึ้น และมีพัฒนาการเข้าสู่ระยะโพสลาร์วาเร็วขึ้น ด้วยโปรแกรมการให้อาหารต่างกัน 3 รูปแบบ ๆ ละ 3 ซ้ำ (CRD) โดยให้ลูกกุ้งระยะแรกฟักกินแพลงก์ตอนพืช (Chaetoceros sp.) 1.5x105 เซลล์/มิลลิลิตร จนลูกกุ้งมีอายุ 10 วัน และเริ่มให้แพลงก์ตอนสัตว์เมื่อ ลูกกุ้งเริ่มกินแพลงก์ตอนสัตว์ เมื่ออายุ 11 วัน ไปจนลูกกุ้งมีพัฒนาการเข้าสู่ระยะโพสลาร์วา โดยชุดการทดลองที่ 1 ให้ลูกกุ้งกินโรติเฟอร์เพียงชนิดเดียว (Brachionussp.) 5 เซลล์/มิลลิลิตร (T1 ) ส่วนชุดการทดลองที่ 2 ให้ลูกกุ้งกินโรติเฟอร์3 เซลล์/ มิลลิลิตร ผสมอาร์ทีเมีย (Artemiasp.) 1 เซลล์/มิลลิลิตร (T2
) และชุดการทดลองที่ 3 ให้ลูกกุ้งกินโรติเฟอร์เพียงชนิดเดียว 5 เซลล์/มิลลิลิตร ไปจนลูกกุ้งมีอายุ 15 วัน แล้วปรับเปลี่ยนชนิดของอาหารมาเป็นอาร์ทีเมีย 1 เซลล์/มิลลิลิตร (T3 ) โดยใช้ ตู้ทดลอง ขนาด 20x20x25 เซนติเมตร (กว้างxยาวxสูง) จ านวน 9 ตู้ ปริมาตรน้ำ 5 ลิตร ความเค็มเท่ากับ 30 ppt ปล่อยลูกกุ้งความหนาแน่น 3 ตัว/ลิตร ผลการวิจัยพบว่าชนิดของอาหาร และระยะเวลาการเปลี่ยนอาหารไม่มีผลต่ออัตรารอด และระยะพัฒนาการ แต่มีผลต่อการเจริญเติบโตของลูกกุ้ง โดยมีอัตรารอดเฉลี่ย (+SE) ร้ อยละ 59.9+4.0, 66.7+3.9และ 66.7+6.7 ตามลำดับ (P>0.05) และการอนุบาลลูกกุ้งด้วย T3 มีความยาวเหยียดเมื่อสิ้นสุดการทดลองเฉลี่ย (+SE) มากที่สุด 6.20+0.00 มิลลิเมตร (P<0.05) และลูกกุ้งมีระยะพัฒนาการ ระยะซูเอีย 9 ระยะ แล้วเข้าสู่ระยะโพสลาร์วา เมื่ออายุ 17, 15 และ 15 วัน ตามลำดับ (P<0.05) สรุปว่า ควรให้คีโตเซอรอสจนลูกกุ้งมีอายุ 10 วัน แล้วปรับเปลี่ยนเป็นโรติเฟอร์เพียงชนิดเดียวจนลูกกุ้ง มีอายุ 15 วัน แล้วปรับเปลี่ยนเป็นอาร์ทีเมียจนลูกกุ้งมีพัฒนาการเข้าสู่ระยะโพสลาร์วา เนื่องจากช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตของลูกกุ้งให้สูงขึ้น และมีพัฒนาการเข้าสู่ระยะโพสลาร์วาเร็วขึ้น |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กุ้งเมดูซา |
th_TH |
dc.subject |
กุ้ง - - การเลี้ยง |
th_TH |
dc.subject |
การเพาะเลี้ยงกุ้ง |
th_TH |
dc.title |
ชนิดของอาหาร และระยะเวลาการเปลี่ยนอาหารต่ออัตรารอดและการเจริญเตบิโตของกุ้งเมดูซาวัยอ่อน (Latreutes anoplonyx) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Effects of Different Feeding Regimes on Survival and Growth of Medusa Shrimp Larvae (Latreutes anoplonyx) |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
27 |
th_TH |
dc.year |
2565 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this study were to compare effects of different feeding regimes on survival and growth of medusa shrimp larvae (Latreutes anoplonyx) . This experiment was divided into three different feeding regimes (CRD): rearing with Chaetoceros sp. 1.5x105
cells/mL and Brachionus sp. 5 individuals/mL (T1), Chaetoceros sp. 1.5x105 cells/ mL and Brachionus sp. 3 individuals/ mL combined with Artemia sp. 1 nauplii/ mL (T2 ) , and Chaetoceros sp. 1.5x105 cells/mL, Brachionussp. 3 individuals/mL and Artemia sp. 1 nauplii/mL (T3). The results showed that mean survival rates were (+SE) 59.9+4.0, 66.7+3.9, and 66.7+6.7%, respectively (P>0.05). In addition, the highest mean total length was (+SE) 6.20+0.00 mm for rearing with T3 (P<0.05). The development from the first zoeal stage to post-larval stage was approximately 17, 15 and 15 days, respectively (P>0.05). |
th_TH |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal |
th_TH |
dc.page |
630-639. |
th_TH |