DSpace Repository

การจำลองใบหน้ามนุษย์โบราณด้วยวิธีการทางประติมากรรม

Show simple item record

dc.contributor.author ภาสกร แสงสว่าง
dc.date.accessioned 2022-07-28T13:49:14Z
dc.date.available 2022-07-28T13:49:14Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4575
dc.description.abstract การสร้างรููปจำลองใบหน้ามนุษย์โบราณด้วย วิธีการทางประติมากรรมนี้ เป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนการศึกษาด้านโบราณคดี ซึ่งเป็นโครงการที่่ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีแผนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอนตั้งแต่การลงพื้นที่เก็บข้อมูลภาคสนาม จากแุหล่งโบราณคดีขุุดค้นพบหลักฐานต่าง ๆ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุุปสาระสำคัญและนำมาบูรณาการกับองค์ความรู้จากศาสตร์ด้านต่าง ๆ เช่น มานุุษยวิทยากายภาพ (กระดูกและฟันคน) พันธุศาสตร์เชิงมานุุษยวิทยา สัตววิทยา โบราณคดี (พันธุศาสตร์โมเลกุลุ และชีวสารสนเทศ) การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม และศิลปกรรมศาสตร์ (ประติมากรรมและจิตรกรรม) เพื่อศึกษาเกี่่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุุษย์กับธรรมชาติตลอดจนความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม ซึ่่งในส่วนการศึกษาด้านมานุุษยวิทยากายภาพเป็นการศึกษาเกี่่ยวกับชิ้นส่วนของหลักฐานที่่หลงเหลือจากร่างกายมนุุษย์ โดยเฉพาะกระดูก และฟันคนที่่ได้จากการขุุดค้นพบจากแหล่งโบราณคดี และเพื่่อให้้ได้ผลลัพธ์ตามสมมติฐานมากที่่สุุด จึงมีความประสงค์ นำชิ้นส่วนกระดูกกระโหลก มาเชื่่อมต่อให้เข้ารูปเดิม เพื่่อเป็นเค้าโครงสำหรับทดลองสร้างรููปจำลองใบหน้ามนุุษย์โบราณ โดยอาศัยวิธีการทางประติมากรรมปั้นชิ้นกล้ามเนื้อใบหน้า ชั้นไขมัน ต่อมน้ำลายและผิวใบหน้า ด้วยวัสดุดินน้ำมันผสมขี้ผึ้งรวมถึงวิธีการหล่อ ตลอดจนการเเคลือบสีผิวตกแต่งน้ำหนักสีผิวด้วยวิธีการการทางจิตรกรรม และเพื่่อเป็นการจัดระเบียบองค์ความรู้ จึงได้รวบรวมข้อมูลูจากการจดบันทึกการปฏิบัติงานตั้งแต่เริ่มต้นจนครบกระบวนการจัดทำเป็นคู่มือการปั้นขึ้นรูปหน้าสำหรับนักโบราณคดีคดีขึ้น เพื่่อเป็นข้อมูลทางวิชาการต่อไป th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ประติมากรรม th_TH
dc.subject หุ่นจำลอง th_TH
dc.subject ใบหน้า th_TH
dc.subject โบราณคดี th_TH
dc.title การจำลองใบหน้ามนุษย์โบราณด้วยวิธีการทางประติมากรรม th_TH
dc.title.alternative An ancient human face simulation with sculptural method th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 24 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative The creation of simulate an ancient human face by sculpture. It’s a part of archeological process. This is continuous project, sequence plan and step. Since field data collection from archeology site, take data for analysis, summary and integrated knowledge from various knowledge such as physical anthropology (bones and teeth) Archeological genetics, zoology archeology (Molecular and Fine Arts (sculpture and painting). My work study interaction between human, nature and cultural relations. Physical Anthropology study parts of human body, especially bones and teeth from archeology site. To get the result according to the assumption, my work bring skull bone parts weld to their original shape, It’s an experiment design for creation of simulate an ancient human face with sculpture, pieces of facial muscles, fat layer, salivary glands and face skin. My work use plasticine and beeswax, sculpt, color coating and painting. For organize knowledge, I collect the data, Take note from the beginning to the and to make manual face sculpture for archeologist for academic information. th_TH
dc.journal วารสารศิลปกรรมบูรพา th_TH
dc.page 25-44. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account