dc.contributor.author | เปลวเทียน เจษฎาชัยยุทธ์ | |
dc.contributor.author | อมรฉัฐ เสริมชีพ | |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T10:46:41Z | |
dc.date.available | 2022-07-23T10:46:41Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4556 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาของพืชอาหาร “ไค” การกลายเป็นสินค้าอาหารอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในเมืองมรดกโลกหลวงพระบาง และศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของประเทศ ผลการศึกษาพบว่า “ไค” เป็นพืชอาหารภูมิปัญญาของชาวไทลื้อ ปัจจุบันพบเห็นวัฒนธรรมการกินนี้ได้ทั่วไปในสิบสองปันนา ภาคเหนือของไทย และภาคเหนือของสปป.ลาว ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีชาวไทลื้ออาศัยอยู่และมีไคขึ้นอยู่ในแม่น้ำที่ใสสะอาด โดยเฉพาะแม่น้ำโขงที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิตไคที่ใหญ่และมีคุณภาพดีที่สุด เมื่อหลวงพระบางได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เกิดการนำเอาไคซึ่งเป็นอาหารท้องถิ่นมาสร้างเป็นอาหารอัตลักษณ์กลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมเพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวจนกลายเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับคนในท้องถิ่น ต่อมาเมื่อ สปป.ลาว มีนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวคิด “แบตเตอรี่แห่งเอเชีย” มีการสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขง ทำให้แหล่งผลิตไคที่สำคัญของชาวหลวงพระบางได้รับผลกระทบ ชาวบ้านต้องไปหาไคในแม่น้ำอื่น ๆ มาทดแทน ทำให้เกิดความไม่มั่นคงทางอาหารในท้องถิ่น และไคแม่น้ำโขงที่มีชื่อเสียงของเมืองมรดกโลกหลวงพระบางอาจหมดไปในอนาคต | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาชาวบ้าน -- ลาว | th_TH |
dc.subject | อาหาร -- ลาว | th_TH |
dc.subject | ไค (พืช) | th_TH |
dc.subject | สาหร่ายน้ำจืด | th_TH |
dc.title | “ไค” พืชภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การกลายเป็นอาหารอัตลักษณ์ในเมืองมรดกโลกหลวงพระบาง และผลกระทบจากการพัฒนา | th_TH |
dc.title.alternative | Kai: A local food plant representing cultural identity of Luang Prabang World Heritage Site and the impacts based on the development | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 29 | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of the study was to investigate how Kai, a traditional food plant has evolved into a food product representing cultural identity of the World Heritage Site, Luang Prabang. It also aimed at studying the impacts of economic development of Laos on the local plant. The study found that the food plant Kai, originally the local wisdom of the Tai Lue, is now consumed by people in other areas including Sipsongpanna (Xishuangbanna), the northern region of Thailand and the northern region of Laos. These areas, home to a number of Tai Lue people, are also abundant with Kai, which grows in clear water rivers. The Mae Kong river is particularly known to be the major producer of highest quality of Kai. When Luang Prabang was recognized by UNESCO as a world cultural heritage, Kai, a local food was selected to represent its cultural identity. It has also become a cultural product serving tourists’ temptations and generated income for the locals. However, with the ambition of Laos to become “Battery of Asia”, dams were built around Mae Kong River. This has not only caused great threats to Kai production but forced people to look for Kai in other distant areas. This may result in instability in terms of local food and defamation of Kai and Mae Kong River. | th_TH |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.page | 135-159. | th_TH |