dc.contributor.author |
วรเทพ มุธุวรรณ |
th |
dc.contributor.author |
ปรารถนา ควรดี |
th |
dc.contributor.author |
ชาญวิทย์ ศุภปัญญาพงศ์ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:51:49Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:51:49Z |
|
dc.date.issued |
2536 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/449 |
|
dc.description.abstract |
การทดลองในครั้งนี้ได้แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกทำการศึกษาถึงความดกของไข่ (Fecundity) และความสัมพันธ์ของอัตราการฟักของลุกปูม้า กับน้ำหนักตัว ความกว้างและความยาวของกระดองปูม้า 1 แม่ จากการศึกษาพบว่า ความดกของไข่และอัตราการฟักของลูกปู มีความสัมพนธ์ (P<0.01) กับน้ำหนัก ความกว้างและความยาวของแม่ปูดังแสดงในสมการความสัมพันธ์ที่สร้างขึ้น
ส่วนที่ 2 ทำการอนุบาลลูกปูม้าในบ่อดิน จำนวน 3 บ่อ มีความหนาแน่น 10 ตัวต่อลิตร โดยปล่อยลูกปูที่เพิ่งฟัก บ่อละ 1 ล้านตัว ทำการอนุบาลซ้ำ รวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง ด้วยกัน ใช้เวลาในการอนุบาลแต่ละครั้ง ตั้งแต่ 30-45 วัน โดยอนุบาลตั้งแต่ลูกปูฟักออกเป็นตัวจนถึงลูกปูเปลี่ยนรูปร่าง (Metamorphosis) เป็นลูกปูขั้นมีกระดองระยะแรก และอนุบาลต่ออีก 15-30 วัน ตลอดระยะเวลาการทดลองไม่มีการให้อาหารแต่ทำการใส่ปุ๋ยเคมีเป็นระยะ เพื่อเพิ่มผลผลิตแพลงก์ตอนที่เนอาหารของลูกปู ทำการตรวจสอบคุณสมบัติน้ำ และแพลงก์ตอนสัตว์ที่เกิดขึ้นในบ่อทดลองเป็นระยะ ผลการทดลองพบว่าสามารถควบคุมปริมาณของแพลงก์ตอนสัตว์ที่เป็นอาหารของลูกปูให้มีจำนวนแพลงก์ตอนสัตว์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแพลงก์ตอนสัตว์ในกลุ่มครัสตาเชียนเท่ากับ 365+19.0 ตัวต่อลิตร ลูกปูใช้เวลาการพัฒนาจากระยะซูเอีย เข้าสู่ระยะเมกาลอบใช้เวลา 12 วัน และเข้าสู่ระยะมีกระดองระยะแรก (First crab stage) เมื่ออายุได้ 16 วันเมื่ออนุบาลต่ออีกประมาณ 15 วัน ลูกปูมีน้ำหนัก ความกว้าง และความยาวกระดองเฉลี่ยเท่ากับ 0.64+0.11 กรัม 10.9+1.0 มิลลิเมตร 21.7+2.3 มิลลิเมตร ตามลำดับ และเมื่ออนุบาลต่ออีก 15 วัน จนลูกปูมีอายุ 45 วัน ลูกปูมีน้ำหนัก ความกว้างและความยาวกระดองเฉลี่ยเท่ากับ 1.35 กรัม 15.0+2.9 มิลลิเมตร 28.8+2.3 มิลลิเมตร โดยมีอัตรารอดเฉลี่ยเท่ากับ 0.1%
Fecundity and number of hatchling of swimming crab per buried female in relation to body weight, width and length of carapace were determined . It was found that both fecundity and number of hatchling were significantly (P<0.01) correlate to body weight, width and length of carapace of the crab. Equation represented relationship between fecundity, number of hatching and body weight, width and length of carapace of the crab were presented.
Nursing of swimming crab larvae from zoea to 30 and 40-day-old juveniles was done in three earthen ponds. The experiment was repeated for five times. Newly hatching crab larvae were stocked at 1,000,000 larvae per pond or equal to larvae per litre of water. Inorganic fertilizers (urea and 16-20-0) were added at 5 days interval to promote phyto-and zooplankton growth wich crab feed on them. Some essential water quality parameters were determined during the nursing period. It was found that all water quality parameters were in acceptable ranges for nursing of swimming crab except salinity of the experiment 2. Average number of zooplankton, which the majority was crustacean larvae was 365+19 individual per liter. Development of larvae from zoea stage to megalopa stage took 12 days and from magalopa stage to first crab stage took 4 day. Average weight, width of carapace and length of carapace of 30-day-old juvenile was 0.64+0.11 g, 10.9+1.0 mm and 21.7+2.3 mm, respectively. Average survival rate for all of the experiments was 0.1%. |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2536 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ปูม้า - - การขยายพันธุ์ |
th_TH |
dc.subject |
ปูม้า - - การเลี้ยง |
th_TH |
dc.subject |
ปูม้า - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
ปูม้า |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การเพาะฟักและอนุบาลลูกปูม้า (Portunus pelagicus) ในบ่อดิน |
th_TH |
dc.title.alternative |
Hatching and nursing of swimming crab (Portunus pelagicus) in earthen ponds |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2536 |
|