dc.contributor.author |
วิรชา เจริญดี |
|
dc.contributor.author |
พัชริดา รัตนวัฒนาพงษ์ |
|
dc.contributor.author |
ศิริวรรณ ชูศรี |
|
dc.contributor.author |
ธนกิต ทองหนัก |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-06T06:57:01Z |
|
dc.date.available |
2022-06-06T06:57:01Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4413 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของปะการังแข็ง 5 ชนิด ที่ได้จากการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศด้วยวิธีการตัดแบ่งในระบบเลี้ยงแบบกึ่งปิดที่ใช้สาหร่ายในการบำบัด โดยแบ่งชุดการทดลองออกป็น 5 ชุดการทดลอง (Treatment) ชุดการทดลองละ 3 ซ้ำ ( Replicate) ดังนี้ ชุดการทดลอง ที่ 1 ชนิด Pavona decussata, ชุดการทดลอง ที่ 2 Mussa angulosa ชนิด, ชุดการทดลอง ที่ 3 ชนิด Fungia scrutaria, ชุดการทดลอง ที่ 4 ชนิด Sandalolitha robusta, ชุดการทดลอง ที่ 5 ชนิด Leptoseris explanata ทำการทดลองเป็นระยะเวลา 12 เดือน ณ โรงเรือนสาธิตงานวิจัยเพาะเลี้ยงสัตว์และพืชทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
ผลการศึกษาพบว่า ชนิดและรูปร่างของปะการังมีผลต่อการเจริญเติบโตที่เพิ่มขึ้นแตกต่างกัน โดยการเจริญเติบโตของพื้นที่ผิวเฉลี่ยรวมที่เพิ่มขึ้นของปะการังทั้ง 5 ชนิด มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.05) ปะการังชนิด F.scrutaria มีการเจริญเติบโตสูงที่สุด (455.16 + 51.76 cm2) รองลงมาคือชนิด S.robusta (430.67 + 6.12 cm2)M. angulosa 109.51 + 46.62 cm2, P.decussata 77.63 + 15.56 cm2 และ การเจริญเติบโตต่ำที่สุดเท่ากับ 32.17 + 12.73 cm2 ในชนิด L.explanata การเจริญเติบโตของพื้นที่ผิวเฉลี่ยในแต่ละเดือนที่เพิ่มขึ้นของปะการังทั้ง 5 ชนิดมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.05) ชนิดที่มีอัตราการเจริญเติบโตที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อเดือนสูงที่สุด 41.94 + 15.39 cm2 คือชนิด S.robusta รองลงมาคือ F scrutaria (40.63 + 17.16 cm2) , M. angulosa (11.82 + 10.86 cm2), P.decussata (10.10 + 8.45 cm2) และชนิด L. explanata 8.92 + 8.78 cm2 มีอัตรากาเรเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อเดือนต่ำที่สุด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
กองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ปะการัง - - การเลี้ยง |
th_TH |
dc.title |
อัตราการเจริญเติบโตของปะการังในกลุ่มกึ่งก้อน, เคลือบ, แผ่น และเห็ด ในระบบเลี้ยง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Variation in growth rates of submissive, encrusting, foliose and mushroom corals in rearing system |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
wiracha@bims.buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
patcharida@bims.buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
siriwan@bims.buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
Thanakritt@bims.buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research to evaluate growth rates on the 5 stony corals by fragmentation of asexual reproduction in captive condition. There were a total of 5 treatments with 3 replicate (T1= Pavona decussata; T2 = Mussa angulosa ; T3 = Fungia scrutaria; T4=
Sandalolitha robusta; T5 = Leptoseris explanate. There were reared in laboratory conditions for 12 months at the Marine Hatchery located at Bangsaen Institute of Marine Science (BIMS), Burapha University, Chon Buri Province, Thailand.
The difference species and forms of stony corals have an effect of growth rate. There was significant difference (P<0.05) in Total rate gain among treatment. The total rate gain in T3 (F. scrutaria) (455.16 + 51.76 cm2) was higher than other treatments. T4 (S. robusta) (430.67 + 6.12 cm2), T2 (M.angulosa) 109.51 + 46.62 cm2, T1 (P.decussata) 77.63 + 15.56 cm2 and T5 (L.explanata) (32.17 + 12.73 cm2) . There was significant difference (P<0.05) in growth rate per month among treatment. The growth rate at the end of 12 months of rearing were the highest in T4 (S. robusta, 41.94 + 15.39 cm2 ) , T3 (F scrutaria, 40.63 + 17.16 cm2) , T2 (M. angulosa ,11.82 + 10.86 cm2), T1 (P.decussata, 10.10 + 8.45 cm2) respectively while the lowest was in T5 (L. explanata 8.92 + 8.78 cm2) |
th_TH |
dc.keyword |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |