DSpace Repository

การพัฒนารูปแบบการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงานไทยเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

Show simple item record

dc.contributor.author โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม
dc.contributor.author ฉวีรัตน์ ชื่นชมกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2022-06-06T03:12:46Z
dc.date.available 2022-06-06T03:12:46Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4402
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากกองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract การช่วยเหลือดูแลแรงงานที่มีภาวะซึมเศร้าจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างเป็นระบบ จึงจะทำให้การช่วยเหลือดูแลแรงงานที่มีภาวะซึมเศร้าในสถานประกอบการเกิดประโยชน์สูงสุด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative descriptive research) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการภาวะซึมเศร้า และพัฒนารูปแบบการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงานในสถานประกอบการเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชนในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก คือ จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา จำนวน 28 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์แก่นสาระ (Miles, Huberman & Saldana, 2014) ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพปัญหาการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงาน มีประเด็นหลักดังนี้ (1) สุญญากาศ -ขาดความเชื่อมโยง (2) แฝงไว้กับงาน และ(3) พึ่งพาตนเอง 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงานในสถานประกอบการ ได้ 3 ประเด็น คือ (1) ทัศนคติและความเชื่อเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า (2) ความรู้ และทักษะการจัดการ (3) ขนาด ลักษณะสิ่งแวดล้อม และสวัสดิการของสถานประกอบการ และ(4) นโยบายสถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ 3) รูปแบบการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงานในสถานประกอบการเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย (1)บูรณาการนโยบาย-สร้างความร่วมมือ (2) นโยบายของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ (3) สร้างวัฒนธรรมของสถานประกอบการ และ(4) พัฒนากระบวนการทำงานของสถานประกอบการอย่างต่อเนื่องเพื่อการดูแลพนักงานที่มีภาวะซึมเศร้า ได้แก่ การประเมินความเสี่ยง วางแผนเสริมสร้างทัศนคติ/ความเชื่อ สร้างความรู้ความเข้าใจภาวะซึมเศร้า สร้างทักษะUpskill-Reskill รวมทั้งสร้างพลังอำนาจพนักงาน สร้างสรรค์วิธีการดูแล และจัดโปรแกรมให้ความช่วยเหลือพนักงานในสถานประกอบการ ผลการวิจัยสามารถนารูปแบบการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงานไปใช้ในสถานประกอบการได้ th_TH
dc.description.sponsorship กองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ภาวะซึมเศร้า th_TH
dc.subject แรงงานไทย th_TH
dc.title การพัฒนารูปแบบการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงานไทยเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) th_TH
dc.title.alternative The development of depressive disorder management model among Thai labours in the eastern economic corridor (ECC) en
dc.type Research th_TH
dc.author.email sorut@go.buu.ac.th th_TH
dc.author.email papa_nut@yahoo.co.th th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative Supporting care for workers with disorder depression needs systematic care. Therefore, it will make the most of helping and taking care of workers with depression in the workplace. This study was qualitative descriptive research to study problem conditions. Factors affecting the management of depression And to develop a model for managing labor depression in establishments in the Eastern Economic Corridor The informants in this study were individuals with stakeholders from both the government and the public sector. The private sector in the Eastern Economic Corridor area is Chonburi, Rayong and Chachoengsao provinces of 28 people. And in-depth interviews Data were analyzed by core analysis (Miles, Huberman & Saldana, 2014). The results of the study of conditions, problems, management of labor depression. including: 1) vacuum - lack of connection, 2) hidden with work, and 3) we have to help ourselves. Informants addressed three factors affecting the management of depression in the workplace: 1) attitudes and beliefs about depression 2) knowledge and skills 3) size, environmental characteristics. And welfare of the establishment and 4) the policy of the establishment and related agencies. The labor depression management model in the establishment of the Eastern Economic Corridor consists of 1) integration of policy-building cooperation, 2) human resource policy, 3) building culture of the establishment, and 4) development. The ongoing work process of the establishment for the care of depressed employees. Including risk assessment planning to promote attitudes / beliefs, build up Upskill-Reskill skill. Including empowering employees and creative care, provide program to assist employees in the workplace. These findings can apply a model for managing labor depression in the workplace. en
dc.keyword สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account