DSpace Repository

โครงการศึกษาแนวทางการขยายพื้นที่ให้บริการการขนส่งเพื่อครอบคลุม เขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก กรณีศึกษา บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด

Show simple item record

dc.contributor.author ชมพูนุท อ่ำช้าง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์ th
dc.date.accessioned 2022-05-24T08:34:44Z
dc.date.available 2022-05-24T08:34:44Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4383
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ งานวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี จากกองทุนเพื่อการวิจัย เงินอุดหนุนทุนการวิจัย คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพาประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาแนวทางการขยายพื้นที่การให้บริการที่ครอบคลุมการขนส่ง แบบ last mile ของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ( Eastern Economics Corridor : EEC) ซึ่งเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์การลงทุนของประเทศไทย ด้วยการใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems : GIS) โดยนำการวิเคราะห์โครงข่าย (Network Analysis) ที่เป็นเทคนิคการวิเคราะห์เชิงโครงข่ายพื้นที่ให้บริการ (Service Area Analysis) เพื่อคำนวณหารัศมีการให้บริการจากจุดที่สนใจออกไปในระยะทางที่กำหนดให้ครอบคลุมระดับการให้บริการการขนส่ง โดยวิเคราะห์ภายใต้หลักของ ไดค์สตรา อัลกอริทึม (Djikstra’s Algorithm) ที่วิเคราะห์โครงข่ายในรูปแบบของระยะทางที่สั้นที่สุดหรือระยะเวลาที่น้อยที่สุดเพื่อให้สามารถตอบสนองกิจกรรมทางการขนส่ง โลจิสติกส์และตอบสนองความต้องการซื้อในยุคของ e-commerce การวิเคราะห์พื้นที่ให้บริการนี้ ของที่ทำการไปรษณีย์ จำนวน 56 จุดในเขตพื้นที่กรณีศึกษา ซึ่งแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 3 แบบจำลอง ได้แก่ ระดับการให้บริการ 15 กิโลเมตร 10 กิโลเมตร และ 5 กิโลเมตร ตามระยะทางที่เหมาะสมในการให้บริการการขนส่งแบบ last mile delivery ผลการวิเคราะห์พบว่า ระยะการให้บริการตามที่กำหนดไว้ ที่ทำการไปรษณีย์สามารถให้บริการได้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของพื้นที่กรณีศึกษาได้ 8,948 ตารางกิโลเมตร (67%) 3,943 ตารางกิโลเมตร (29%) และ 2,178 ตารางกิโลเมตร (16%) ตามลาดับ ซึ่งถ้าไปรษณีย์ไทย จำกัด ต้องการเพิ่มศักยภาพการบริการให้เข้าถึงลูกค้ามากขึ้น ดังนั้นต้องให้ความสำคัญของจำนวนที่ตั้งไปรษณีย์ไทย เพื่อให้สามารถรองรับการให้บริการแบบ last mile delivery ได้ จากงานวิจัยพบว่า บริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด ควรเพิ่มจำนวนที่ทาการไปรษณีย์ตามระยะการให้บริการที่แตกต่างกัน โดยเพิ่มที่ทำการไปรษณีย์เป็น 85 จุด 190 จุด และ 486 จุด ในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject เขตเศรษฐกิจพิเศษ th_TH
dc.subject การพัฒนาเศรษฐกิจ th_TH
dc.title โครงการศึกษาแนวทางการขยายพื้นที่ให้บริการการขนส่งเพื่อครอบคลุม เขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก กรณีศึกษา บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด th_TH
dc.title.alternative The Coverage Area for Extended Delivery Service in Eastern Economic Corridor (EEC): A Case of Thailand Post en
dc.type Research th_TH
dc.author.email chompoonut@buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aims to study the coverage area for extending delivery service in Eastern Economic Corridor (EEC) of Thailand Post by applying Geographic Information Systems (GIS). The network analysis is developed for analyzing last mile network in service area. By calculating the distance of service area covered under Djikstra’s Algorithm, an analysis of shortest distance or shortest time for delivery service with e-commerce perspective. This service area for last mile delivery of Thailand Post is included 56 post offices in EEC. This research studied appropriate distance for last mile concept that conducted by 15 kilometers, 10 kilometers, and 5 kilometers. The result presents the coverage distance for serving a last mile delivery, Thailand Post provided its service around 8,948 square kilometers (67%), 3,943 square kilometers (29%) and 2,178 square kilometers (16%) respectively. Moreover, if Thailand post desires to implement a last mile delivery service for supporting e-commerce business. To increase satisfaction and efficiency of last mile service, this research recommends that the location of post office in EEC should be increased by adding 85 points, 190 points and 486 points. en
dc.keyword สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account