DSpace Repository

การประเมินหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author วิชัย แย้มหลั่งทรัพย์
dc.contributor.other คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.date.accessioned 2022-05-21T14:06:24Z
dc.date.available 2022-05-21T14:06:24Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4355
dc.description งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประเมินหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพา โดยใช้รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสตัฟเฟิลบีม (Stuffebeam: CIPP-Model) ประกอบด้วย 1) การประเมินด้านบริบทของหลักสูตร ได้แก่ วัตถุประสงค์ โครงสร้าง และเนื้อหาของหลักสูตร 2) การประเมินด้านปัจจัยนำเข้าของหลักสูตร ได้แก่ นิสิต อาจารย์ ปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน 3) การประเมินด้านกระบวนการของหลักสูตร ได้แก่ การบริหารหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดการประเมินผลการเรียน การสอน 4) การประเมินด้านผลผลิตของหลักสูตร ได้แก่ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ คุณลักษณะนิสิตฝึกงานที่พึงประสงค์ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา ประชากรที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ บัณฑิต นิสิต ผู้ใช้บัณฑิตหรือนิสิตฝึกงาน ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม 5 ระดับ และแบบสัมภาษณ์ ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยบูรพา และผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพา มีค่าเฉลี่ยตามลำดับดังนี้ 1) ภาพรวมของการประเมิน ผู้บริหาร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตร นิสิต บัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิตหรือนิสิตฝึกงาน มีความคิดเห็นว่ามี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 2) การประเมินด้านผลผลิตของหลักสูตร มีความคิดเห็นว่ามี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3) การประเมินด้านบริบทของหลักสูตร มีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 4) การประเมินด้านกระบวนการ มีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก และ 5) การประเมินด้านปัจจัยนำเข้าของหลักสูตร มีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การประเมินหลักสูตร th_TH
dc.subject นิเทศศาสตร์ - - หลักสูตร th_TH
dc.subject หลักสูตร th_TH
dc.title การประเมินหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email wichaiym@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aims to evaluate the Bachelor of Communication Arts program (Revised Curriculum B.E. 2559), Burapha University. To evaluate the program according to “Stuffebeam: CIPP-Model”Or “CIPP. This Model was employed. This model consists of 1) Context Evaluation namely objectives, structures, and contents; 2) Input Evaluation namely students, teachers, and other factors supporting teaching; 3) Process Evaluation namely curriculum management, teaching process, and learning assessment; and 4) Product Evaluation namely desirable characteristics of students, desirable characteristics of students for internship and desirable characteristics of graduates. The research population included executives, teachers, graduates, students, and graduate users or student internship users from the Department of Communication Arts, the Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University. The research population was comprised of 629 participants. The research tools were a 5-level questionnaire and an interview form, which were reviewed by experts and the research ethics committee of Burapha University. The findings showed the evaluation results of the Bachelor of Communication Arts program (Revised Curriculum B.E. 2559), Burapha University as follows: 1) Overall of the Evaluation – the total level of executives, teachers, graduates, students, and graduate users who agreed that the curriculum was suitable was at a much level; 2) Product Evaluation – the total level of participants who agreed that the products were suitable was at a much level; 3) Context Evaluation - the total level of participants who agreed that the context was suitable was at a much level; 4) Process Evaluation - the total level of participants who agreed that the process was suitable was at a much level; and 5) Input Evaluation - the total level of participants who agreed that the inputs were suitable was at a much level. en
dc.keyword สาขาการศึกษา th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account