DSpace Repository

มาตราการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเรือเทียบท่า

Show simple item record

dc.contributor.author รณกฤต เศรษฐดาลี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์
dc.date.accessioned 2022-05-14T07:30:26Z
dc.date.available 2022-05-14T07:30:26Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4342
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ งานวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี จากกองทุนเพื่อการวิจัย เงินอุดหนุนทุนการวิจัย คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพาประจำปี พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract ท่าเรือคือช่องทางหลักของการนำเข้าและส่งออกที่มีผลต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจประเทศ ดังนั้นการใช้พื้นที่หน้าท่าอย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นการเพิ่มมูลค่า ท่าเรือแหลมฉบังคือท่าเรือหลักสนับสนุนการนำเข้าและส่งออก การศึกษามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเรือเทียบท่า วิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและค่านำหนักของกิจกรรมการจัดเรือเทียบท่า ด้วยตัวแปรแฝงที่มีผลกับการจัดเรือเทียบท่า ได้แก่ ผู้ประกอบการท่าเรือ เจ้าของเรือและสายการเดินเรือ หน่วยงานราชการ ลูกค้า ผ่านตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัดและ 190 ตัวอย่าง ด้วยสมการโครงสร้างประเมินความเหมาะสมของแบบจำลอง การวิเคราะห์เส้นทางรวมทั้งทดสอบความเที่ยงตรง 2 แบบ ได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและความเที่ยงเชิงจำแนก ผลของค่าถ่วงน้ำหนักและความน่าเชื่อด้วย Cronbach Alpha จากโปรแกรม ADANCO พบว่านอกจากผลระทบจากกิจกรรมภายในของผู้ประกอบการท่าเรือแล้วยังมีโครงสร้างภายนอกที่มีผลกับการจัดการเรือเทียบท่า คือ ลูกค้า (0.439) หน่วยงานราชการ (0.329) เรือเจ้าของเรือและสายการเดินเรือ (0.146) ตัวแปรแฝงทุกตัวมีผลโดยตรงต่อท่าเทียบเรือและผลของตัวชี้วัดที่ได้รับจากการศึกษาระบุค่าน้ำหนักของผลกระทบของกิจกรรมของแต่ละส่วนของโครงสร้างการจัดเรือเทียบท่า และลำดับความสำคัญสำหรับการแก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเรือเทียบท่า th_TH
dc.description.sponsorship คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ท่าเรือ th_TH
dc.subject ท่าเรือ - - การจัดการ th_TH
dc.title มาตราการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเรือเทียบท่า th_TH
dc.title.alternative Optimize Performance Dimension for Vessel Berthing Arrangement in Thailand Main Port model en
dc.type Research th_TH
dc.author.email ronnakrit@buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Shipping ports are a vital component of the import-export economy, including the value-added utility of space at ports. Laem Chabang Port is one of Thailand’s major ports for import and export. This study applies the Performance Optimize Dimension for Berthing Arrangement in Thailand Main Port Model to analyses the structural relationship between loading factors and berthing arrangement by latent variables including ship owners and shipping freight, the government sectors, and customers, by 19 indicators as well as 190 samples. Path Analysis, Structural Equation Model, and 2 validity tests (convergent validity and discriminant validity) were utilized. Moreover, loading validity and reliability loading were examined using Cronbach Alpha of the ADANCO Program. The results revealed not only the effects of internal matters from Terminal Operators, but also from customers (0.439), the government sector (0.329), freight and ship owners (1.146). Latent variables were found to have directly affected berthing. In addition, the indicator results displayed priority guidelines for solutions to berthing problems as well as optimizing berthing performance. en
dc.keyword สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account