dc.contributor.author |
ประทีป อูปแก้ว |
|
dc.contributor.author |
นรินทร์ เจริญพันธุ์ |
|
dc.contributor.author |
กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ |
|
dc.contributor.author |
รังสรรค์ เจริญสุข |
|
dc.contributor.author |
ศันสนีย์ จำจด |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-06T09:05:19Z |
|
dc.date.available |
2022-05-06T09:05:19Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4329 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 |
th_TH |
dc.description.abstract |
ข้าวพื้นเมืองเป็นพันธุ์ข้าวที่มีความแปรปรวนทางพันธุกรรมสูง แต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติเฉพาะตัว เช่น ทนแล้ง ทนต่อโรคและแมลง เป็นต้น การปลูกข้าวพื้นเมืองพบในพื้นที่ของจังหวัดที่มีติดกับประเทศกัมพูชา แต่ปัจจุบันข้าวพื้นเมืองมีการปลูกน้อยลงและข้าวพันธุ์ปรับปรุงมาปลูกแทน ดังนั้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุ์ไม่ให้สูญหายและเพิ่มมูลค่าทางการตลาด จึงได้ทำการเก็บรวมรวบเมล็ดข้าวพื้นเมืองและประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและระหว่างประชากร โดยรวบรวมพันธุ์ข้าวพื้นเมืองจำนวน 101 ตัวอย่าง มาจากเกษตรกรในพื้นที่ 6 จังหวัด คือสระแก้ว บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี สุรินทร์ และอานาจเจริญ โดยประเมินลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ดที่ได้จากเกษตรกร และนำเมล็ดไปปลูกทดสอบในรุ่นลูก จากนั้นประเมินความหลากหลายทางชีวโมเลกุล พบว่าผลการทดลองพบความหลากหลายทางพันธุกรรมทั้งภายในและระหว่างประชากร ข้าวพื้นเมืองในแต่ละตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นข้าวเจ้า และเมล็ดเรียว โดยลักษณะสัณฐานวิทยาของเมล็ดมีค่าความหลากหลาย (H') รวมอยู่ระหว่าง 0.11 1.47 ส่วนความหลากหลายรวมของลักษณะสัณฐานวิทยาในประชากรรุ่นลูกมีค่าความหลากหลายระหว่าง 0.-1.07 และค่าความหลากหลายทางพันธุกรรมมีค่าอยู่ระหว่าง 0-0.26 จากการศึกษานี้สรุปได้ว่าการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของข้าวพื้นเมืองของเกษตรกรในพื้นที่ 6 จังหวัด มีความหลากหลายทั้งภายในและระหว่างประชากร โดยมีความแปรปรวนของพันธุกรรมตั้งแต่ไม่มีความหลากหลายถึงสูง ดังนั้นต้องมีการอนุรักษ์และใช้แหล่งพันธุกรรมให้เพิ่มมูลค่าต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะเทคโนโลยีการเกษตร. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว |
th_TH |
dc.subject |
ข้าว - - พันธุ์ดั้งเดิม |
th_TH |
dc.subject |
อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ |
th_TH |
dc.title |
การอนุรักษ์และเพิ่มมูลค่าข้าวพื้นเมืองในพื้นที่จังหวัดที่ติดกับประเทศกัมพูชา |
th_TH |
dc.title.alternative |
The conservation and Increase Value of local Rice in Provinces regions border with Cambodia |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
Prateep_o@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
narinch@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
kanyaratl@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
rangsunc@nu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
agosjmjd@chiangmai.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2060 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Local rice varieties had high genetic variations. Each accession has special properties such as tolerance to drought stress, diseases and insects and etc. The local rice varieties were widely distributed in provinces regions border with Cambodia. Recently, the local rice varieties decreased area planting and replaced by improved varieties. The conservation of local rice varieties were saved the genetic lose and increase marketing value. So, this study was conducted to collecte the local rice varieties and evaluate the genetic diversity within and among population. The 101 accessions of local rice varieties were collected from farmers in six provinces: Sakeao, Burirum, Surin, Sisaket, Ubon Ratchathanee and Amnat Charoen. The local farmer’s seed rice varieties were evaluated the morphological characters. The progeny testing was evaluated the local rice morphological and genetic diversity of molecular technique. The results showed the genetic variation within and among local rice accessions. The local rice accessions were found the non-glutinous rice type and the slander seed shape. Thus, the total genetic diversity (H') of morphological characters were ranged from 0.11 to 1.47. The genetic diversisy of morphological characters in the progeny test were ranged from 0-1.07 and molecular genetic diversity ranged from 0-0.26. These studies was concluded that the genetic variation within and among local rice accessions in six provinces. In addition, the future works will be conserved and used genetic resource in marketing value. |
en |
dc.keyword |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |