DSpace Repository

การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคจากการวิเคราะห์ข้อมูลการซื้อสินค้า

Show simple item record

dc.contributor.author โกเมศ อัมพวัน
dc.contributor.author อรรถสิทธิ์ สุรฤกษ์
dc.contributor.author อนุชิต จิตพัฒนกุล
dc.contributor.author ณัฐนนท์ ลีลาตระกูล
dc.contributor.author สุนิสา ริมเจริญ
dc.contributor.author วราวุฒิ ผ้าเจริญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned 2022-04-29T07:14:09Z
dc.date.available 2022-04-29T07:14:09Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4323
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 th_TH
dc.description.abstract การค้นหารูปแบบที่มีค่าคุณประโยชน์สูงเป็นหัวข้องานวิจัยหนึ่งที่น่าสนใจภายใต้การทำเหมืองข้อมูลที่ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย ตัวอย่างเช่น การประยุกต์ใช้ในธุรกิจค้าปลีกเพื่อทำการค้นหารายการสินค่าที่ถูกซื้อจากลูกค้า ที่ซึ่งสินค่าดังกล่าวจะเป็นรายการสินค่าที่ถูกซื้อร่วมกันและให้ผลตอบแทนที่สูง เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม การค้นหารูปแบบที่มีค่าคุณประโยชน์สูงจะ ทำการพิจารณาเพียงแค่ค่าคุณประโยชน์ของรายการต่าง ๆ เท่านั้น ที่ซึ่งการค้นหารูปแบบดังกล่าว อาจไม่เพียงพอต่อการสังเกตถึงพฤติกรรมการซื้อสินค่าของผู้บริโภคด้วยเหตุนี้งานวิจัยจึงมุ่งเน้นที่จะทำการเพิ่มเติมเงื่อนไขการพิจารณารูปแบบ โดยจะทำการเพิ่มเติมเงื่อนไขของการปรากฏอย่างไม่ สม่ำเสมอร่วมกับการพิจารณาค่าคุณประโยชน์ของรูปแบบต่าง ๆ โดยภายใต้แนวคิดใหม่ข้างต้น รูปแบบที่น่าสนใจจะเป[นรูปแบบที่มีค่าคุณประโยชน์สูงและปรากฏขึ้นในชุดข้อมูลอย่างไม่สม่ำเสมอ โดยจะเรียกรูปแบบดังกล่าวว่า “รูปแบบที่มีค่าคุณประโยชน์สูงที่ปรากฏไม่สม่ำเสมอ (High-utilityirregular itemsets, HUII)” ในการค้นหารูปแบบดังกล่าว งานวิจัยนี้ได้เสนอขั้นตอนวิธีที่มีประสิทธิภาพ ที่เรียกว่า “High-Utility Itemsets with Irregular Occurrence Miner, HUIIM” ซึ่งจะทำการอ่านข<อมูลจาก ฐานข้อมูลเพียงครั้งเดียวและทำการประยุกต์ใช้ปรับปรุงโครงสร้างการเก็บข้อมูล(New modified utility-list, NUL) สำหรับจัดเก็บข้อมูลการปรากฏขึ้นและค่าคุณประโยชน์ของเซตรายการหนึ่ง ๆ ให้ มีประสิทธิภาพ นอกจากนั้น ขั้นตอนวิธี HUIIM ได้ประยุกต์ใช้แนวความคิดเกี่ยวกับค่าประมาณ คุณประโยชน์ (transaction-weighted utility, TWU), ค่าคุณประโยชน์คงเหลือ (remaining utility) และค่าประมาณคุณประโยชน์แบบกระชับ (tight over-estimated utility, tou) เพื่อทำการ ลดทอนปริภูมิสถานะของการค้นหาเซตรายการ การทดลองได้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อทดสอบประสิทธิภาพ ของขั้นตอนวิธี HUIIM ที่ถูกนำเสนอ โดยจากผลการทดลองจะสามารถสังเกตได้ว่าขั้นตอนวิธี HUIIM ที่นำเสนอสามารถประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้านเวลาและหน่วยความจำที่ใช้ในการ ประมวลผล th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การซื้อสินค้า th_TH
dc.subject ผู้บริโภค - - การปรับพฤติกรรม th_TH
dc.title การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคจากการวิเคราะห์ข้อมูลการซื้อสินค้า th_TH
dc.title.alternative Consumers’ behavior analysis based on buying behavior analysis en
dc.type Research th_TH
dc.author.email komate@buu.ac.th th_TH
dc.author.email athasit.s@chula.ac.th th_TH
dc.author.email anuchit.j@sci.kmutnb.ac.th th_TH
dc.author.email nutthanon@buu.ac.th th_TH
dc.author.email rsunisa@buu.ac.th th_TH
dc.year 2561 th_TH
dc.description.abstractalternative High utility itemsets mining (HUIM) is an interesting topic in data mining which can be applied in a wide range of applications, for example, on retail marketing to find sets of sold products that give high profit, etc. However, HUIM only considers utility values of items/itemsets which may be insufficient to observe buying behavior of customers. To address this issue, we here introduce an approach on pushing regularity constrainton high utility itemsets mining to observe occurrence behavior of high utility itemsets. Based on this approach, sets of co-occurrence items with (i) high utility values and (ii) irregular occurrence, called “high utility-irregular itemsets, HUII”, are regarded as interesting. To mine such itemsets, an efficient algorithm called “High-Utility Itemsets with Irregular Occurrence Miner (HUIIM)” is designed and introduced. HUIIM scans database once to capture occurrence information and utility value of single items into the new-modified utility list structure (NUL) used for maintaining occurrence information of an item/itemset. The concept transaction weighted utility (TWU), remaining utility (ru) and tight over- estimated utility (tou) of an item/itemset are applied and utilized to prune search space. Experimental studies are conducted to investigate performance of the proposed methods and the results show that HUIIM can effectively mine high utility itemsets with irregular occurrence in both computational time and memory usage. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account