DSpace Repository

เพลงโคราช : การถ่ายทอดและองค์ความรู้

Show simple item record

dc.contributor.author บุญส่ง สร้อยสิงห์
dc.contributor.author ปริญญา เรืองทิพย์
dc.contributor.author ประวิทย์ ทองไชย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned 2021-06-22T08:23:43Z
dc.date.available 2021-06-22T08:23:43Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4230
dc.description.abstract บทความนี้ จึงต้องการนำเสนอมุมมองของผู้เขียนที่เกิดจากศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการทำวิจัยเรื่อง เพลงโคราช : การอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไทยสู่สากล เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในองค์ความรู้และการถ่ายทอดองค์ความรู้ของเพลงโคราช มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไทย ใช้แนวทางเดียวกันกับหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมขององค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ซึ่งประกอบด้วย 1) การศึกษาวัฒนธรรมและความคงอยู่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม 2) การถ่ายทอดองค์ความรู้ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม 3) การศึกษาองค์ความรู้ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และ 4) การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวสิ่งที่สะท้อนความเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมได้เด่นชัดและทำให้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอยู่คู่ในสังคมได้อย่างยาวนาน ผลการศึกษา พบว่า การแสดงเพลงโคราช เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไทยที่สะท้อนอัตลักษณ์และสังคมของจังหวัดนครราชสีมา อัตลักษณ์เฉพาะที่เด่นชัด คือการใช้ภาษาโคราช และการแสดงที่ไม่มีดนตรีประกอบสังคมที่ประกอบด้วยผู้คนที่อาศัยหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ เสียงเหน่อโคราช เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นสำเนียงกึ่งภาคกลาง กึ่งอีสาน กึ่งอีสานใต้ จึงเรียกว่า “สำเนียงโคราช” การถ่ายทอดองค์ความรู้ของการแสดงเพลงโคราชจากอดีตสู่ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายทอดจากบิดามารดาสู่บุคคลในครอบครัว หรือการถ่ายทอดจากครูสู่ลูกศิษย์ ถือว่าเป็นการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอีกรูปแบบหนึ่ง th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject เพลงพื้นเมือง -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) th_TH
dc.subject ภูมิปัญญา th_TH
dc.subject ทรัพยากรทางวัฒนธรรม -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) th_TH
dc.subject การอนุรักษ์วัฒนธรรม th_TH
dc.title เพลงโคราช : การถ่ายทอดและองค์ความรู้ th_TH
dc.title.alternative Khorat folksong: Transfer and knowledge en
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 15 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative This article therefore wants to present the views of the author caused by research from related research to conduct research “Khorat folksong: Conservation of Thai intangible culture heritage into the culture world” to disseminate knowledge and understanding of transferring knowledge of Khorat performance Thai intangible cultural heritage. Conservation of Thai intangible cultural heritage: Khorat folksong in the way of according to the intangible cultural heritage list of persistence of intangible cultural heritage 2) Transferring knowledge of cultural heritage 3) The study educational organization United Nations Science and Culture. Consist of 1) The study of culture and of knowledge of cultural heritage and 4) Community life education of intangible cultural heritage. According to the said criteria that clearly reflect the intangible cultural heritage and make the intangible cultural heritage in the society a long time Is the knowledge and transmission of intangible cultural heritage. The results of the study were as follows: Khorat folksong is a Thai intangible cultural heritage that reflects the identity and society of Nakhon Ratchasima. The unique identity that is clear to use Khorat language and no background music. A society that consists of people living in various ethnic groups. They were reflecting the language spoken, Accent Khorat voice. The unique therefore called the Khorat accent. Transferring knowledge of Khorat folking or Khorat performances from past to present. Whether it is transmitted from parents to family members or transferring from teachers to students. Considered as a conservation of cultural heritage is something that reflects that society. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม th_TH
dc.page 255-267. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account