DSpace Repository

สภาพและปัญหาการบริหารจัดการที่ดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.author ภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:48Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:48Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/422
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) มีความมั่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพปัญหาและสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการที่ดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออก ขั้นตอนแรกเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารจัดการที่ดี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 351 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ขั้นตอนที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการศึกษากรณีศึกษาและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ใช้ข้อมูลหลัก ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 6 คน ครู จำนวน 6 คนในสถานศึกษา กรณีศึกษา 6 แห่ง และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพื่อการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการบริหารจัดการที่ดี เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น .984 และ .981 ตามลำดับ และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การใช้ค่าที (t-Test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพการบริหารจัดการที่ดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคตะวันออก โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ปัญหาการบริหารจัดการที่ดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออก โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับน้อย 2. การเปรียบเทียบสภาพการบริหารจัดการที่ดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกจำแนกตามประเภทสถานศึกษาและขนาดสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการที่ดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออก สังเคราะห์จากการศึกษาสภาพ ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการที่ดีได้ 8 ประการ เพื่อการพัฒนาวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา กำหนดการบริหารจัดการที่ดีเป็นค่านิยมหลักกำหนดมาตรฐานและวิธีการปฏบัติงาน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์การบริหารแบบมีส่วนร่วม การทำงานเป็นทีม และการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา th_TH
dc.description.sponsorship การวิจัยครั้งนี้ได้รับเงินอุดหนุนจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การศึกษาขั้นพื้นฐาน - - การบริหาร th_TH
dc.subject การศึกษาขั้นพื้นฐาน - - ไทย - - วิจัย th_TH
dc.subject โรงเรียน - - การบริหาร - - ไทย (ภาคตะวันออก) th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title สภาพและปัญหาการบริหารจัดการที่ดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออก th_TH
dc.type Research
dc.year 2551
dc.description.abstractalternative This research was mixed methed, aimed to study the situations, problems and synthesized for good governance policy formulation of basic schools under the Office of Educational Service Area in the eastern area. This first past, was quantitative research, studied studying situations and problems of good gevernance. The sample consisted of 351 teachers by means of stratified random sampling. The second past, was qualitative research, studying in six schools as the case study, the key information gained from six schools administrators and six school teachers and nine experts elected by purposive sampling. The research instruments were a five rating scale questionnaire on situations and problems of good governance, with its reliabilities of .984 and .981 and interview from. Data were analyzed by using mean, standard deviation, t-test, and One-way ANOVA and content analysis. The research finding a were as follows: 1. Good governance situations of basic schools in total and each aspert were at a high level and good governance problems in total and each aspect were at a low level. 2.Good governance situations of basic schools in total and each aspect as classified by school type and school size were no significant difference and good governance problems of basic school were also no significant difference. 3. Good governance policy of basic schools in the eastern area systemized from situation, peoblems and guideline for development were eight programs for policy success, such as principals' vision development, making good govermance as core values, work standardization and procedure setting, human resources development, achievement motivation reinforcement, term building and quality assurance system development. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account