DSpace Repository

สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตและหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ภาคพิเศษ (ต่อเนื่อง) มหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author สุรีย์รัตน์ พรหมสุวรรณ
dc.contributor.author เกศริน อิ่มเล็ก
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:48Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:48Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/421
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยเรื่อง “สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตและหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ภาคพิเศษ (ต่อเนื่อง) มหาวิทยาลัยบูรพา” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ระบุปัญหาของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรฯ 2) เพื่อหาข้อเสนอแนะด้านการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรฯ กลุ่มประชากรที่ศึกษาวิจัยคือ นิสิตหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตและหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ภาคพิเศษ (ต่อเนื่อง) ชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 จำนวน 620 คน โดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยประชากร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการเรียนการสอนในทัศนคติของนิสิต พบว่า ด้านบริการวิชาการ ด้านตารางเรียนเวลา 8:00-18:00 น. มีความเหมาะสมปานกลาง สำหรับการสอนโดยใช้ผู้สอนร่วม การจัดสอบมากกว่าหนึ่งวิชาต่อวัน การศึกษานอกสถานที่ สื่อคอมพิวเตอร์ มีความเหมาะสมน้อย และวิธีการสอนยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางยังคงมาจากผู้สอนเป็นหลัก 2. การเตรียมความพร้อมของนิสิต พบว่า นิสิตมีการทำความเข้าใจในเนื้อหา มีการทำแบบฝึกหัด อ่านหนังสือก่อนสอบ และค้นคว้าห้องสมุดในระดับปานกลาง 3. อุปสรรคและข้อจำกัดในการศึกษาของนิสิต พบว่า การจัดให้มีการสอบมากกว่าหนึ่งวิชาต่อวันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาระดับมาก สำหรับความถนัดด้านการคำนวณ ภาษาอังกฤษ และการทำงานประจำพร้อมกับการศึกษาเป็นอุปสรรคในระดับปานกลาง 4. การจัดการเรียนการสอนในทัศนะของอาจารย์และบุคลากร พบว่า การจัดผู้สอน 1:50 ผู้สอนดูแลไม่ทั่วถึง นิสิตมีการตอบคำถามหรือซักถามน้อย การสอนด้วยการบรรยาย การศึกษาดูงานนอกสถานที่มีน้อยมาก ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอ การจัดบุคลากรบริการวิชาการมีน้อย การจัดการสอบมากกว่าหนึ่งวิชาต่อวันและการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ E-Learning มีความเหมาะสมน้อย นอกจากนี้ยังพบว่า หนังสือในห้องสมุดมีความทันสมัย ปานกลาง 5. แนวทางการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน มีข้อเสนอแนะว่า ควรจัดการเรียนแบบบล็อกคอร์ส ลดการอัดแน่นของการเรียนในวันเสาร์และอาทิตย์ ควรจัดสัดส่วนผู้สอนต่อผู้เรียน 1:30 ควรจัดให้มีผู้ช่วยสอน ควรมีเอกสารประกอบการเรียน ควรเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ควรให้มีการฝึกปฏิบัติจริงในชั้นเรียน ให้ผู้ใช้บริการได้มีโอกาสเสนอแนะซื้อหนังสือเข้าห้องสมุด ควรมีเว็บมาสเตอร์เพื่อตอบคำถาม และควรเพิ่มบริการให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนงาานวิจัย งบรายได้ประจำปีงบประมาณ 2548 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การศึกษาต่อเนื่อง - - การตัดสินใจ th_TH
dc.subject การศึกษาต่อเนื่อง - - อุปทานและอุปสงค์ th_TH
dc.subject บริหารธุรกิจ - - หลักสูตร th_TH
dc.subject สถาบันอุดมศึกษา - - หลักสูตร th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตและหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ภาคพิเศษ (ต่อเนื่อง) มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.title.alternative Preblems and suggestions in the teaching and learning management: bachelor of business administration and bachelor of accountancy (Part-time curriculum), Burapha University en
dc.type Research th_TH
dc.year 2551
dc.description.abstractalternative The research “Problems and Suggestions in the teaching and learning management: Bachelor of Business Administration and Bachelor of Accountancy (Part-time curriculum), Burapha University” has 2 purposes: 1) to indentify the problems in the teaching and learning management, and 2) to suggest the solutions. The samples are 620 students in the 3rd and 4th year in the bachelor of Business Administration and Bachelor of Accountancy (Part-time curriculum). The data was analyzed by frequency percentage, mean and standard deviation. The results are 1. The teaching and learning management: the academic-hour between 08.00 a.m.-06.00 p.m. is in the medium level, but the team-teaching, the examination schedule, the academic trip, the computer instruments are in the low level, and the teaching teaching technique is the teacher-centered not student-centered. 2. The students’ readiness: the students prepare themselves before learning, do the exercises, prepare before the examination and searching the library in the middle level. 3. The students’ limitations and obstacles: the examination schedule which more than I subject per day is the most limitation and, the mathematic aptitude, English fluency and full-time job are the obstacles in middle level. 4. The teaching and learning management in the lecturers and staffs’ view: the lecturer and students ratio is 1:50 which is not suitable, the students had a few discussions. and the academic trips are the least level, the computer labs are not sufficient, the numbers of staffs, the examination schedule and the E-learning system are in the low level. Moreover, the books in the library are not up-to-date. 5. The suggestions are: the faculty should use the ‘block-course’ to reduce the class on Saturday and Sunday, the lecturer and student should be 1:30, it should have the teaching assistance, and the lecture note, and the teaching technique should be the ‘student-centered’. The should have the web-master to response the FQA. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account