DSpace Repository

การบัญชีเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมสู่แรงจูงใจทางด้านภาษี

Show simple item record

dc.contributor.author ณัฐวงศ์ พูนพล
dc.contributor.author ชาลินี ปลูกผลงาม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-06-17T02:27:42Z
dc.date.available 2021-06-17T02:27:42Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4184
dc.description.abstract แนวคิดเชิงทฤษฎีทางด้านงานวิจัยทางการบัญชีเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมมีวัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสรุปและอภิปรายประเด็นสำคัญต่างๆ ประกอบด้วย 1) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสีย ทฤษฎีมูลค่าของผู้มีส่วนได้เสีย ทฤษฎีความเป็นพลเมืองขององค์กร และทฤษฎีการปฏิบัติงานเพื่อสังคมขององค์กร 2) วิวัฒนาการงานวิจัยทางด้านการบัญชีเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เริ่มต้นจากการบัญชีความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นการรายงานถึงต้นทุนและผลประโยชน์ที่เกิดจากกิจกรรมขององค์การที่ส่งผลต่อชุมชน รวมถึง การรายงานข้อมูลที่เกี่ยวกับการเงินและข้อมูลที่ไม่เกี่ยวกับการเงินก็ได้ ต่อมาช่วงหลังปี 2000 ประเทศที่พัฒนาแล้วได้มีการบัญชีสีเขียวหรือการบัญชีสิ่งแวดล้อม ที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์ต้นทุน ประโยชน์ที่ได้รับ และผลกระทบทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 3) การเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมมากขึ้น โดยการออกแบบแนวทางในการรับรู้ต้นทุนสังคมและสิ่งแวดล้อม การรับรู้หนี้สินด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม และการเปิดเผยข้อมูลและรายงานต่อบุคคลภายนอก 4) สาเหตุและผลกระทบจากการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เล็งเห็นว่าการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อมมีประโยชน์ต่อราคาหุ้นของกิจการจึงมีความจำเป็นที่ทุกกิจการจะต้องทำการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว 5) ภาษีสิ่งแวดล้อมและแรงจูงใจทางด้านภาษี ถือเป็นความพยายามคิดค้นวิธีการที่จะให้ผู้สร้างปัญหา ก่อมลพิษ หรือทำลายทรัพยากรได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ทรัพยากร โดยให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเข้ามาช่วยในการกำกับดูแล th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การบัญชีสังคม th_TH
dc.subject การบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อม th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title การบัญชีเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมสู่แรงจูงใจทางด้านภาษี th_TH
dc.title.alternative Social and environmental accounting to tax incentive en
dc.type Article th_TH
dc.issue 1 th_TH
dc.volume 15 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Theoretical framework of social and environmental accounting research have main objective in order to literature review in a critical discussion and summary. The literature review consist of 1) The theory of social and environmental accounting includes stakeholder theory, stakeholder value theory, corporate citizenship theory, corporate social performance theory. 2) the evolution accounting for social and environment that starting from social responsibility accounting. Report view displays a comparative overview of the costs and benefits that effect to the activities for communities with financial and non-financial reporting. Then after 2000, the developed countries have green accounting or environment, especially the cost analysis to benefit about environment and social effecting. 3) Disclosure of social and environment responsibility that responds to the needs of society by designing guidelines for social and environmental costs recognition. Social and environmental liabilities recognition. Disclosure of information and report to others. 4) The causes and effects of disclosure the information about society and the environment which benefit the share price of business. There are imperative for all businesses to disclose the information. 5) Environment tax and tax incentive are thinking a powerful approach to troublemaker, polluting, or destructive nature able to change resource usage behaviors by the supervision of the government and private organization en
dc.journal วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ th_TH
dc.page 16-30. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account