dc.contributor.author |
นิภาพร รอดไพบูลย์ |
|
dc.contributor.author |
ชิตพล ชัยมะดัน |
|
dc.contributor.author |
สุปราณี ธรรมพิทักษ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-15T08:49:42Z |
|
dc.date.available |
2021-06-15T08:49:42Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4163 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการนำนโยบายการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าวไปปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพในรูปพหุกรณีศึกษา ที่มุ่งการเก็บข้อมูลในเชิงลึก เพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งและเป็นองค์รวม โดยเก็บข้อมูลจากโรงเรียนที่เป็นกรณีศึกษา 4 โรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า การนำนโยบายการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าวไปปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว มีวัตถุประสงค์และแนวทางในการปฏิบัติการจัดการศึกษาให้เด็กต่างด้าวอย่างชัดเจน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548, ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียนเข้าเรียน ในสถานศึกษา พ.ศ. 2548, คู่มือและแนวปฏิบัติสำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคล ที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไม่มีสัญชาติไทย (ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2560) ด้านทรัพยากรของนโยบาย พบว่า ทรัพยากรด้านบุคลากร และงบประมาณที่ได้รับ การจัดสรร ไม่เพียงพอในการปฏิบัติงานจริง แต่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็สามารถแก้ไขปัญหา และปฏิบัติตามนโยบายได้ ด้านการสื่อสารระหว่างองค์กร ผู้บริหารมีความสามารถในการโน้มน้าวใจที่ดี ทำให้ผู้ปฏิบัติสามารถดำเนินงานตามหลักเกณฑ์และแนวทางจนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ด้านลักษณะของหน่วยปฏิบัติ ไม่ได้มีการกำหนดผู้รับผิดชอบเฉพาะสำหรับการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าว แต่ปฏิบัติตามแนวทางที่รัฐกำหนด ด้านเงื่อนไข ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง พบว่า ชุมชน หน่วยงานด้านความมั่นคง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เต็มใจและสนับสนุนให้ทางโรงเรียนจัดการศึกษาให้เด็กต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ด้านทัศนคติของผู้บริหาร พบว่า ผู้บริหารมีทัศนคติเชิงบวกต่อนโยบาย ส่งผลให้ทุกฝ่ายมีการรับรู้และเข้าใจ เกิดการยอมรับ และสามารถตอบสนองต่อนโยบายได้เป็นอย่างดี ทำให้การนำนโยบายมาปฏิบัติประสบความสำเร็จได้ จุดสำคัญที่ค้นพบจากงานวิจัยนี้ คือ กระบวนการนโยบายสาธารณะในขั้นการนำนโยบายไปปฏิบัติ มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จ หรือความล้มเหลวของนโยบายนั้น ซึ่งการดำเนินนโยบายการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าวในพื้นที่จังหวัดสระแก้วที่ผ่านมา ชี้ให้เห็นว่าการนำนโยบายไปปฏิบัติบรรลุวัตถุประสงค์ของนโยบาย
การโน้มน้าวใจที่ดี ท าให้ผู้ปฏิบัติสามารถด าเนินงานตามหลักเกณฑ์และแนวทางจนบรรลุ
เป้าหมายที่วางไว้ ด้านลักษณะของหน่วยปฏิบัติ ไม่ได้มีการก าหนดผู้รับผิดชอบเฉพาะ
ส าหรับการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าว แต่ปฏิบัติตามแนวทางที่รัฐก าหนด ด้านเงื่อนไข
ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง พบว่า ชุมชน หน่วยงานด้ านความมั่นคง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เต็มใจและสนับสนุนให้ทางโรงเรียนจัดการศึกษาให้
เด็กต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ด้านทัศนคติของผู้บริหาร พบว่า ผู้บริหารมีทัศนคติเชิงบวกต่อ
นโยบาย ส่งผลให้ทุกฝ่ายมีการรับรู้และเข้าใจ เกิดการยอมรับ และสามารถตอบสนองต่อ
นโยบายได้เป็นอย่างดี ท าให้การน านโยบายมาปฏิบัติประสบความส าเร็จได้ จุดส าคัญ
ที่ค้นพบจากงานวิจัยนี้ คือ กระบวนการนโยบายสาธารณะในขั้นการน านโยบายไปปฏิบัติ
มีส่วนส าคัญอย่างยิ่งต่อความส าเร็จ หรือความล้มเหลวของนโยบายนั้น ซึ่งการด าเนิน
นโยบายการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าวในพื้นที่จังหวัดสระแก้วที่ผ่านมา ชี้ให้เห็นว่าการน า
นโยบายไปปฏิบัติบรรลุวัตถุประสงค์ของนโยบาย |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
นโยบายการศึกษา |
th_TH |
dc.subject |
การนำนโยบายไปปฏิบัติ |
th_TH |
dc.subject |
คนต่างด้าว -- การศึกษา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
การนำนโยบายการจัดการศึกษาสำหรับเด็กต่างด้าวไปปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว |
th_TH |
dc.title.alternative |
The implementation of educational management policies on migrant children in Sa Kaeo province |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
9 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research is to investigate the implementation of the educational
management policies on migrant children in Sa Kaeo Province. A qualitative
method with an emphasis on multi-case studies was employed to collect the
in-depth data from four school sites in order to obtain deep and holistic
understanding.
The results of the study revealed that, the policy implementation of
the educational management for migrant children in Sa Kaeo Province, found
that there were objectives and guidelines clearly in the educational
management for migrant children in Sa Kaeo Province according to the Cabinet
resolution on 5 July 2005, the Ministry of Education Regulations on the
evidence of accepting students to enter the school in 2005, the manual and
guidelines for educational management to persons without evidence of civil
registration or without Thai nationality (Revised version 2017); the resources
of the policy found that the personnel resources and the budget allocated
was not enough in the actual operation; the communication between
organizations found that the executives had the ability to persuade and
enable the practitioner to perform according to the rules and guidelines until
achieving the goals; the characteristics of the operating unit found that there
was no specific person responsible for the educational management for
migrant children but follow the guidelines of the state; the condition of
economic, social and politic found that the communities, the security agencies
and local government organizations were willing and encouraged the school
to manage education for migrant children of Cambodian nationality; the
attitude of the executives found that the executives had a positive attitude
towards the policy that resulted in all parties being recognition, understanding,
accepting and able to respond to the policy as well and making policy
implementation successful; and, the key point of this research finding was the
public policy process in implementing the policy that was very important to
the success or failure of the policy and for the policy implementation of
educational management for migrant children in Sa Kaeo Province that has
achieved the objectives of the policy. |
en |
dc.journal |
วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง |
th_TH |
dc.page |
22-43. |
th_TH |