DSpace Repository

การตรวจหาและแบ่งส่วนของออพคิตดิสและคัพในสภาพแวดล้อมที่มีความซับซ้อนสูงเพื่อการช่วยวินิจฉัยทางการแพทย์

Show simple item record

dc.contributor.author กฤษณะ ชินสาร
dc.contributor.author สุวรรณา รัศมีขวัญ
dc.contributor.author ภูสิต กุลเกษม
dc.contributor.author เบญจภรณ์ จันทรกองกุล
dc.contributor.author อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์
dc.contributor.author ชิดชนก เหลือสินทรัพย์
dc.contributor.author วุฒิชัย เหลืองเรืองรอง
dc.contributor.author นิลรัตน์ ก้านหยั่นทอง
dc.contributor.author ธนินท์ อินทรมณี
dc.contributor.author Ratanak Khoeun
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned 2021-04-28T10:40:45Z
dc.date.available 2021-04-28T10:40:45Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4060
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 th_TH
dc.description.abstract โรคที่เกิดบนจอประสาทตาของมนุษย์ส่วนใหญ่จะแสดงอาการออกทางจานประสาทตาหรือขั้วประสาทตา (Optic Disc) เช่น โรคเบาหวานและโรคต้อหินเป็นต้น ซึ่งในบางกรณีพบว่ามีสิ่งรบกวนเกิดขึ้นบนภาพถ่ายจอประสาทตา เช่น สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในขณะที่ผู้เชี่ยวชาญถ่ายภาพจอประสาทตา รอยแผลทีเกิดจากโรคเบาหวานขึ้นตา (Exudates) รวมไปถึงในกรณีที่จานประสาทตาเลือนลางจนมีลักษณะใกล้เคียงกับพื้นจอประสาทตาของมนุษย์ โครงการวิจัยนี้จึงนำเสนอขั้นตอนวิธีสำหรับระบุตำแหน่งของจานประสาทตา (Optic Disc Localization) บนภาพถ่ายจอประสาทตาที่มีความซับซ้อนสูง เพื่อนำภาพผลลัพธ์ที่ได้ไปประกอบการวินิจฉัยหรือตรวจจับตลอดจนพยากรณ์การเกิดโรคที่แสดงอาการบนภาพถ่ายจอประสาทตา ขั้นตอนวิธีที่นำเสนอประกอบด้วยสามขั้นตอนหลัก คือ การปรับปรุงคุณภาพภาพโดยใช้ระบบสี YIQ และกำจัดสัญญาณรบกวนด้วยขั้นตอนวิธีทางสัณฐานภาพ (Image Morphological) จากนั้นจะเลือกคุณลักษณะในการระบุตำแหน่งของจานประสาทตาด้วยการยกเส้นเลือดออกจากพื้นหลังโดยใช้ขั้นตอนวิธีของ Tyler Coye และ จุดสิ้นสุดของเส้นเลือด จากนั้นจึงทำการระบุตำแหน่งของจานประสาทตาจากคุณลักษณะที่ได้จากขั้นตอนก่อนหน้านี้ จากการทดลองพบว่าขั้นตอนวิธีที่นำเสนอสามารถระบุตำแหน่งของจานประสาทตาได้ด้วยความถูกต้อง 91.11 % เมื่อเปรียบเทียบกับขั้นตอนวิธ๊ของ Kande et al และ Lupascu et al. ซึ่งค่าความถูกต้องอยู่ที่ 86.38% และ 87.98% ตามลำดับ th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject จอประสาทตา - - โรค th_TH
dc.subject ตา - - โรค - - การวินิจฉัย th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การตรวจหาและแบ่งส่วนของออพคิตดิสและคัพในสภาพแวดล้อมที่มีความซับซ้อนสูงเพื่อการช่วยวินิจฉัยทางการแพทย์ th_TH
dc.title.alternative Auto detection and segmentation of optic disc and cup in highly complex environment for supporting medical diagnosis en
dc.type Research th_TH
dc.author.email krisana@buu.ac.th th_TH
dc.author.email rasmequa@buu.ac.th th_TH
dc.author.email pusit@buu.ac.th th_TH
dc.author.email benchapo@buu.ac.th th_TH
dc.author.email lchidcha@chula.ac.th th_TH
dc.year 2561 th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account