DSpace Repository

การทบทวนและปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาของโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกสู่การเป็นประเทศอาเซียนในจังหวัดจันทบุรี: ทางเลือกจากการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักสู่การสร้างระบบความมั่นคงทางอาหาร

Show simple item record

dc.contributor.author วราภรณ์ ช่วยประคอง
dc.date.accessioned 2021-04-28T02:51:44Z
dc.date.available 2021-04-28T02:51:44Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4059
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 th_TH
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการทบทวนและวิเคราะห์การตอบโต้ของประชาสังคมท้องถิ่นที่มีต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก รวมถึงเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาในการสร้างระบบ ความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดจันทบุรี วิธีวิทยาที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ การวิจัยเชิงประเมินผล ในเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เช่น เอกสารและการสัมภาษณ์ เป็นต้น ผลการศึกษาวิจัยพบว่า พยายามผนวกเศรษฐกิจจันทบุรีเข้าสู่วงจรทุนนิยมโลก ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรม แปรรูปสินค้าเกษตร และนิคมอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าและท่าเรือน้ำลึก แต่ความพยายามดังกล่าวได้ถูกต่อต้านโดยกลุ่มประชาสังคมในจังหวัดจันทบุรีแต่ไม่สามารถดำเนินงานได้ ผู้วิจัยจึงนำเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาในการสร้างระบบความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดจันทบุรี ได้แก่ การส่งเสริมประมงชายฝั่งขนาดเล็กในจังหวัดจันทบุรี การฟื้นฟูการทำนาข้าวในจังหวัดจันทบุรี การพัฒนาผลไม้ในจังหวัดจันทบุรี และการอนุรักษ์อาหารท้องถิ่นในจังหวัดจันทบุรี th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject อุตสาหกรรมอาหาร th_TH
dc.subject ชายฝั่งทะเลตะวันออก - - ไทย th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title การทบทวนและปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาของโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกสู่การเป็นประเทศอาเซียนในจังหวัดจันทบุรี: ทางเลือกจากการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักสู่การสร้างระบบความมั่นคงทางอาหาร th_TH
dc.title.alternative Review and development strategy adjustment of eastern seaboard development program toward asean country in Chantaburi province : alternative from heavy industry development to the creation of food security system en
dc.type Research th_TH
dc.author.email varapr@buu.ac.th th_TH
dc.year 2560 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aimed to review heavy industrialization and analyze to counter of local civil society as well as to propose development strategies of food security system in Chanthaburi. The research methodology used was qualitative evaluation research based on historical n\method such as documentary research and interview. The result found that the heavy industrialization in globalization tried to integrate Chanthaburi economy into world capitalist circuit. However, the industrialization was counted by Chanthaburi civil society groups so that it could not implemented. The research propose development strategies of food security system in Chanthaburi as follow : small in-share fishery promotion, rice planting revival, fruit development and local food conservation. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account