dc.contributor.author |
กฤษนัยน์ เจริญจิตร |
th |
dc.contributor.author |
จันทิมา ปิยะพงษ์ |
th |
dc.contributor.author |
ปัทมา พอดี |
th |
dc.contributor.author |
ปรีชา บุญขาว |
th |
dc.contributor.author |
Marco Ciolli |
th |
dc.contributor.author |
Clara Tattoni |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-12-21T03:17:14Z |
|
dc.date.available |
2020-12-21T03:17:14Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3988 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 |
th_TH |
dc.description.abstract |
โครงการการพัฒนาแบบจำลองเพื่อคาดการ์ณผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ส่งผลต่อคุณภาพน้ำในระบบลุ่มน้ำของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อจำแนกและคาดการณ์การใช้ที่ดินในลุ่มน้ำเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และ 2) เพื่อสร้างแบบจำลองและคาดการณ์คุณภาพน้ำผิวดินจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินโดยใช้การรับรู้จากระยะไกลในลุ่มน้ำเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกถูกใช้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม รองลงมาเป็นพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่อยู่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เบ็ดเตล็ด และพื้นที่แหล่งน้ำ ตามลำดับ โดยในช่วงปี พ.ศ.2550-2555 เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งส่งผลให้พื้นที่ป่า และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีขนาดลงลง และถูกแทนที่ด้วยพื้นที่แหล่งน้ำที่เพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของบ่อน้ำสำหรับไว้ใช้ในการเกษตรและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ส่วนช่วงพ.ศ. 2555-2560 พบว่า พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ป่าไม้มีขนาดลดลงในขณะที่พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างมีขนาดเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการขยายตัวของพื้นที่อุตสาหกรรมในพื้นที่ภาคตะวันออก ในขณะที่ข้อมูลการคาดการณ์การใช้ที่ดินในอนาคต พ.ศ.2580 สะท้อนให้เห็นว่า พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ป่าไม้ และพื้นที่แหล่งน้ำมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่พื้นที่เบ็ดเตล็ด และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ สถานการณ์การลดลงของพื้นที่ป่าไม้และการเพิ่มขึ้นของพื้นที่อุตสาหกรรม ส่งผลให้ปริมาณขององค์ประกอบสมดุลน้ำเกิดการเปลี่ยนแปลง รวมถึงปริมาณน้ำท่าทั้งรายเดือนและรายปีมีแนวโน้มลดลง
สำหรับการคาดการณ์คุณภาพน้ำผิวดินในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ผู้วิจัยได้แบ่งลุ่มน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกออกเป็น 3 ลุ่มน้ำ คือลุ่มน้ำบางปะกง ลุ่มน้ำสาขาคลองใหญ่ และลุ่มน้ำสาขาประแสร์ และทำการคาดการณคุณภาพน้ำผิวดินด้วยแบบจำลองทางอุทกวิทยา (Soil and Water Assessment Tool: SWAT) และนำเข้าข้อมูลการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2550 และ 2560 สำหรับสอบเทียบและตรวจพิสูจน์แบบจำลอง โดยใช้ข้อมูลปริมาณน้ำท่ารายวันจากสถานีตรวจวัดในพื้นที่ลุ่มน้ำ ซึ่งคือสถานี KGT.3 สำหรับลุ่มน้ำบางปะกง, สถานี Z.62 สำหรับลุ่มน้ำสาขาคลองใหญ่ และสถานี Z.11 สำหรับลุ่มน้ำสาขาประแสร์จากการสอบเทียบและการตรวจพิสูจน์แบบจำลอง พบว่า แบบจำลอง SWAT ให้ผล
การจำลองปริมาณน้ำท่าอยู่ในเกณฑ์ที่น่าเชื่อถือ โดยพิจารณาความถูกต้องของแบบจำลองจากค่า
สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) และค่า Nash-Sutcliffe Efficiency (NSE) โดยผลการจำลองปริมาณ
น้ำท่า ณ สถานี KGT.3 Z.62 และ Z.11 ให้ค่า R2 และค่า NSE อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ทางสถิติ และ
สำหรับการคาดการณ์ปริมาณน้ำท่าจากการใช้ที่ดินในปี พ.ศ. 2580 พบว่า ปริมาณน้ำท่ามีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น เนื่องมาจากการปรับเปลี่ยนพื้นที่เกษตรกรรม เป็นที่อยู่อาศัยและสิ่งปลูกสร้างมากขึ้น ซึ่งมีผล
มาจากความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีนัยสำคัญ โดยพบว่า เมื่อพื้นที่
ป่าไม้ลดลง ส่งผลให้ปริมาณน้ำท่าเพิ่มมากขึ้น และถ้าพื้นที่ป่าไม้เพิ่มมากขึ้น จะส่งผลให้ปริมาณน้ำท่า
ลดลง โดยผลการศึกษานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการคาดการณ์ปริมาณน้ำท่าในพื้นที่ลุ่มน้ำเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกภายใต้การเลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการใช้ที่ดินในอนาคต เพื่อใช้
เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนจัดการพื้นที่ลุ่มน้ำเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกในอนาคตต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพน้ำ |
th_TH |
dc.subject |
การบริหารจัดการน้ำ |
th_TH |
dc.subject |
การพัฒนาเศรษฐกิจ -- ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
โครงการการพัฒนาแบบจำลองเพื่อคาดการณ์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ส่งผลต่อคุณภาพน้ำในระบบลุ่มน้ำ ของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Development of Simulation Models for Prediction of Effect of Changing land use on Water Quality of the River Basin System in Eastern Economic Corridor (EEC) |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
kitsanai@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
chantimap@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
pattamap@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
preechap@go.buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
marco.ciolli@unitn.it |
th_TH |
dc.author.email |
clara.tattoni@gmail.com |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The Development of Simulation Models for Prediction of Effect of
Changing Land Use on Water Quality of the River Basin System in Eastern Economic
Corridor (EEC) project has two objectives, these are 1) to classify and predict land use
changes in the river basin in Eastern Economic Corridor and 2) to modelling and
predicting the land use changes on surface water using remote sensing.
The results from the study showed that the majority of land use in
the case study area comprises of Agricultural areas, followed by Forest areas, Urban
and built-up areas, Miscellaneous area, and Water body areas, respectively. During
2 0 0 7- 2 0 1 2, Land use was slowly converted from forest land to agricultural land,
resulting in the decrease in deciduous forest areas. And for urban and built-up areas
has been replaced by water body areas. Due to the increasing of agricultural and
aquaculture sector for water storage purpose. Moreover, during 2012-2017, Agricultural
and Forest areas are decreased as a result of the expansion of industrial areas in
Eastern Region. A prediction of future land use into the year 2 0 3 7 showed that
Agricultural area, Forest area And water body tends to decline while miscellaneous
area and built up area are increased. Therefore, the decreasing of forest area and the
ญ
increase of agricultural area is the result of changes in the amount of water balance
components, including the decrease in the monthly as well as annual runoff.
For forecasting surface water quality in the Eastern Economic Corridor.
The researcher divided the watersheds into 3 river basins, namely the Bang Pakong
River Basin. Klong Yai Branch River Basin, and Prasae Branch River Basin And to estimate
surface water quality with the Soil and Water Assessment Tool (SWAT) and import land
use data 2007 and 2017 for model calibration and verification. Using data from daily
runoff data from the measurement stations in the watershed, which is the KGT.3 station
for the Bang Pakong River Basin, the Z.62 station for the Khlong Yai Branch River Basin,
and the Z.11 Station for the Prasae Branch River Basin.
The result from model calibration and validation showed that SWAT
model gave a reasonable agreement of the runoff simulation. The statistic that was
used to determine the performance of the model is a coefficient of determination (R2),
and the Nash-Sutcliffe efficiency (NSE). The runoff simulation at KGT.3, Z.62 and Z.11
gave a reasonable agreement between runoff and model simulating. And for the
prediction of runoff volume from land use data in 2037. It was found that the runoff
volume tends to increase due to land use changes from agricultural areas to urban
and built-up areas. This was due to the relationship of land use change significantly.
resulting in an increased amount of runoff And the increasing of forest area are
increasing in runoff too. The results of this study can be applied to predict the runoff
in river basin in Eastern Economic Corridor under the future climate and land use
change. The result of this project was used as the information for water planning and
management in the Eastern Economic Corridor in near future. |
en |