DSpace Repository

ความรู้ ทัศนคติ และความต้องการการคลอดธรรมชาติของหญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว และผู้ให้บริการ ณ โรงพยาบาลระยอง

Show simple item record

dc.contributor.author ตติรัตน์ สุวรรณสุจริต th
dc.contributor.author สุคนธา ผาสุข th
dc.contributor.author นิภาวรรณ์ รัมภารัตน์ th
dc.contributor.author ปิยฉัตร ปธานราษฎร์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:33Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:33Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/396
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และความต้องการการคลอดธรรมชาติของหญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว และผู้ให้บริการ กลุ่มตัวอย่างคือ หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวที่มารับบริการในโรงพยาบาลระยอง จำนวน 370 คน และผู้ให้บริการด้านสูติกรรมของโรงพยาบาลระยอง จำนวน 47 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลทั่วไปแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการคลอดธรรมชาติ แบบวัดทัศนคติเกี่ยวกับการคลอดธรรมชาติ แบบสอบถามความต้องการการคลอดธรรมชาติ และแบบสอบถามปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการให้บริการการคลอดธรรมชาติ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาวิจัย พบว่า 1. หญิงตั้งครรภ์มีคะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และความต้องการการคลอดธรรมชาติ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X¯= 22.73 SD = 3.24, X¯119.18 SD = 8.49 และ X¯= 88.33 SD= 7.74 ตามลำดับ) เมื่อพิจารณาอิทธิพลของความรู้และทัศนคติที่มีต่อความต้องการมีส่วนร่วมของ สามีในการส่งเสริมการคลอดวิถีธรรมชาติ พบว่า ความรู้และทัศนคติสามารถร่วมกันพยากรณ์ความต้องการมีส่วนร่วมของสามีในการส่งเสริมการคลอดวิถีธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความต้องการมีส่วนร่วมของสามีในการส่งเสริมการคลอดวิถีธรรมชาติได้ร้อยละ 34.5 2. ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์มีคะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และความต้องการการคลอดธรรมชาติโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง(X¯= 22.78SD = 3.279, X¯= 119.47 SD = 8.506 และ X¯= 89.23 SD = 8.035ตามลำดับ) เมื่อพิจารณษอิทธิพลของความรู้และทัศนคติที่มีต่อความต้องการมีส่วนร่วมของสามีในการส่งเสริมการคลอดวิถีธรรมชาติ พบว่า ความรู้และทัศนคติสามารถร่วมกันพยากรณ์ความต้องการมีส่วนร่วมของสามีในการส่งเสริมการคลอดวิถีธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความต้องการมีส่วนร่วมของสามีในการส่งเสริมการคลอดวิถีธรรมชาติได้ร้อยละ 19.3 3. ผู้ให้บริการมีคะแนนเฉลี่ยคสามรู้ ทัศนคติ และความต้องการการคลอดธรรมชาติโดยรวมอยู่ในระดับสูง(X¯= 28.94 SD = 3.54,X¯= 138.34SD = 13.60 และ X¯= 95.53 SD = 6.18 ตามลำดับ) ผลการศึกษานี้นำมาซึ่งข้อมูลสำคัญเพื่อใช้ในการพัฒนาในการพัฒนารูปแบบให้บริการคลอดวิถีธรรมชาติโดยเน้นการมีส่วนร่วมของสามีที่ตอบสนองความต้องการของสามี th_TH
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยการพัฒนารูปแบบการให้บริการการคลอดธรรมชาติ โดยยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2549-2551 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การคลอด th_TH
dc.subject การคลอดธรรมชาติ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title ความรู้ ทัศนคติ และความต้องการการคลอดธรรมชาติของหญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว และผู้ให้บริการ ณ โรงพยาบาลระยอง th_TH
dc.type Research en
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study knowledge, attitudes , and needs of pregnant women, their families, and providers toward natural childbirth practice. The sample consisted of 370 pregnant women and their families who follow-up at antenatal care unit of Rayong hospital and 47health care provider regarding maternal and newborn care. Data were collected by five questionnaires including demographic data, natural childbirth knowledge questionnaire, attitudes towards natural childbirth questionnaire, needs on natural childbirth practice questionnaire, and problems and barriers the natural childbirth service questionnaire. Statistical used for data analysis included descriptive analysis, Pearson’s product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The study results revealed that 1. The scores of knowledge, attitudes, and needs of pregnant women toward natural childbirth practice were at moderate level (X¯= 22.73 SD = 3.24, X¯119.18 SD = 8.49 andX¯ = 88.33 SD = 7.74 respectively). Knowledge and attitudes significantly predicted needs of pregnant women towards natural childbirth practice and explained 34 .5% of the variance. 2. The scores of knowledge, attitudes and needs of pregnant women, families towards natural childbirth practice were at moderate level (X¯= 22.78SD = 3.279, X¯= 119.47 SD = 8.506 andX¯= 89.23 SD = 8.035respectively). Knowledge and attitudes significantly predicted needs of their families toward childbirth practice and explained 19.3 % of the variance. 3. The score of knowledge, attitudes, and needs of health care providers toward natural childbirth practice were at high level (X¯= 22.78SD = 3.279, X¯= 119.47 SD = 8.506 andX¯= 89.23 SD = 8.035respectively). These findings contribute to greater understanding of information necessary for development of natural childbirth service model focusing on participation of their families and respect to needs of pregnant women and their families. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account