dc.contributor.author |
บุญเชิด หนูอิ่ม |
|
dc.date.accessioned |
2020-10-01T06:49:03Z |
|
dc.date.available |
2020-10-01T06:49:03Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3969 |
|
dc.description |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เลขที่สัญญา 71/2561 |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาศักยภาพเชิงพื้นที่ของเทศบาลเมืองแสนสุขเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ ประการแรกศึกษาศักยภาพเชิงพื้นที่เทศบาลเมืองแสนสุขเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญสำหรับการวางแผนพัฒนารองรับสังคมผู้สูงอายุอย่างบูรณาการ ประการที่สองค้นหาและจำแนกประเด็นศักยภาพเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนารองรับสังคมผู้สูงอายุ ประการสุดท้ายเสนอแนะแนวทาง
การพัฒนาศักยภาพเชิงพื้นที่ให้สอดคล้องกับสภาพบริบทของเทศบาลเมืองแสนสุข รูปแบบการวิจัยออกแบบกระบวนแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเปลี่ยนแปลงหรือกำหนดการใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่ เพื่อไปสู่กระบวนการออกแบบเมืองที่รองรับผู้สูงอายุ ผลการศึกษาพบว่าศักยภาพเชิงพื้นที่ของเทศบาลเมืองแสนสุขจากปัจจัยชี้วัด 8 ประการตามเกณฑ์
การพิจารณาเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ สิ่งที่เกิดขึ้นในพื้นที่อยู่ในระดับไม่มี จำนวน 3 ด้าน ได้แก่
ด้านพื้นที่สาธารณะภายนอกอาคารและภายในอาคาร ด้านการมีส่วนร่วมในฐานะพลเมืองและการมีงานทำ และด้านสารสนเทศและการติดต่อสื่อสาร สิ่งที่เกิดขึ้นในพื้นที่อยู่ในระดับน้อยที่สุด จำนวน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการคมนาคมขนส่ง ด้านโอกาสในการมีส่วนร่วมทางสังคม การยอมรับและการมีสังกัดในสังคม และด้านการสนับสนุนจากชุมชนและการบริการสุขภาพ และสิ่งที่เกิดขึ้นในพื้นที่อยู่ในระดับน้อย จำนวน 1 ด้าน คือ ด้านที่อยู่อาศัย ในชุมชนเมือง เทศบาลเมืองแสนสุขควรเน้นการจัดการพื้นที่ที่โครงสร้างพื้นฐานที่จะรองรับผู้สูงอายุ ด้านพื้นที่สาธารณะภายนอกอาคารและภายในอาคาร และ
ด้านการคมนาคมขนส่ง เป็นลำดับแรก ควรมีการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เตรียมรองรับ
การขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เพิ่มขึ้นเพราะจะเป็นอุปสรรคในการดำเนินการที่จะเป็นเมือง
ที่เป็นมิตรต่อผู้สูงอายุ สำหรับประเด็นด้านอื่นๆ สามารถดำเนินการควบคู่ไปด้วยกัน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
สังคมผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.subject |
ผู้สูงอายุ - - การดูแล |
th_TH |
dc.subject |
สาขาสังคมวิทยา |
th_TH |
dc.title |
ศักยภาพเชิงพื้นที่ของเทศบาลเมืองแสนสุขเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Potential Area of Saensuk Municipality to Accommodate an Aging Society |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
booncher@go.buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
A study of spatial potential of Saen Suk Municipality for supporting the aging society has 3 objectives as follows: First, study the spatial potential of Saen Suk Municipality to be an important basic information for the development planning to support the aging society in an integrated manner. Second, find and identify potential spatial issues for the development of supporting the aging society. Lastly, suggest the development of spatial potential in accordance with the context of Saen Suk Municipality. Research model, process design, participatory action research with stakeholders in changing or determining spatial utilization. In order to the design process of the city that supports the elderly. The results shown that the spatial potential of Saen Suk Municipality is based on 8 factors, according to the criteria for considering the elderly friendly city. There are 3 levels of things happening in the area which are public areas, outside the building and inside the building. Participation in citizenship and employment and information and communication. What is happening in the area is the least level, consisting of 4 areas which are transportation, opportunities for social participation, acceptance and affiliation in society and community support and health services. What is happening in the area is in a low level, amount 1 aspect which is the housing area in the urban community, the city of Saen Suk Municipality should focus on managing the area that the infrastructure will support the elderly In terms of public areas outside the building and inside buildings and transportation as first priority. There should be planning of land use that is prepared to support the expansion of the city in the future because it will be an obstacle to proceeding to be a city that is friendly to the elderly, as for other issues, can be carried out together. |
th_TH |