dc.contributor.author |
สุคนทิพย์ เถาว์โมลา |
|
dc.contributor.author |
เจริญศักดิ์ เลางาม |
|
dc.contributor.author |
ศุภชัย สมเพ็ชร |
|
dc.date.accessioned |
2020-08-28T02:16:21Z |
|
dc.date.available |
2020-08-28T02:16:21Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3944 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ได้เตรียมถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร 3 ประเภท คือ กะลามะพร้าว
เปลือกทุเรียน และเปลือกมังคุด โดยการกระตุ้นทางเคมีด้วยโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 20, 40
และ 60% w/w ในกระบวนการเตรียมถ่านกัมมันต์วัตถุดิบจะถูกเผาคาร์บอไนซ์ที่ 500 องศาเซลเซียส
และเผากระตุ้นที่ 400, 600 และ 800 องศาเซลเซียส ถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวมีพื้นที่ผิว
จาเพาะสูงสุด 1,346.6 m2/g และปริมาตรรูขุมขนรวมเท่ากับ 0.7441 cm3/g นอกจากนี้พบว่า
ขนาดรูพรุนเฉลี่ยของถ่านกัมมันต์จากเปลือกทุเรียนเป็นรูพรุนแบบไมโครพอรัส ถ่านกัมมันต์จาก
กะลามะพร้าวและเปลือกมังคุดมีค่ารูพรุนเฉลี่ยเป็นแบบเมโสพอรัส ไอโซเทอมการดูดซับของ
สารละลายตะกั่วและทองแดงของถ่านกัมมันต์ทั้งหมดเป็นแลงเมียร์ ซึ่งเป็นการดูดซับแบบชั้นเดียว |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
ถ่านกัมมันต์ |
th_TH |
dc.subject |
การดูดซับ |
th_TH |
dc.subject |
วัสดุเหลือใช้จากพืชเศรษฐกิจ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
|
dc.title |
การเตรียม การวิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้ถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากภาคตะวันออกของประเทศไทย เพื่อเป็นตัวดูดซับโลหะหนักจากสารละลายน้ำ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Preparation, Characterization and Application of Activated Carbon from Eastern Thailand Agricultural Wastes as Adsorbents for Heavy Metals from Aqueous Solution |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
sukhontip@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
charo_lao@yahoo.com |
th_TH |
dc.author.email |
supaso@kku.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research, activated carbon were prepared from 3 type agricultural waste
( coconut shell, durian peel and mangosteen peel) by chemical activation with
potassium hydroxide (KOH) 2 0 , 4 0 and 6 0 % w/w. In the preparation process, raw
materials were carbonized at 500 oC and activated at 400, 600 and 800 oC. The
activated carbon from coconut shell had the highest specific surface area 1,346.6 m2/g
and total pore volume was 0.7441 cm3/g. In addition, the average pore size of activated
carbon from durian shell is microporous pore. Activated carbon from coconut shell and mangosteen peel has average porosity in mesoporous type. The adsorption isotherm of lead and copper solution of all activated carbon are Langmire model, which single layer adsorption. |
en |