DSpace Repository

การผลิตสารพรีไบโอติกมูลค่าสูงด้วยการแปรรูปของเสียจากโรงงานน้ำตาลโดยใช้จุลินทรีย์จากถั่วหมักที่เลี้ยงโดยใช้เทคโนโลยีการตรึงเซลล์แบบต่าง ๆ

Show simple item record

dc.contributor.author วิทวัส แจ้งเอี่ยม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-08-09T04:54:41Z
dc.date.available 2020-08-09T04:54:41Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3941
dc.description.abstract โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ และแบบท่อไหล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิตสารลีเวน โดยใช้วิธีการตรึงจุลินทรีย์ที่ตรึงบนเม็ดอัลจิเนต และ ศึกษาการผลิตสารลีเวนจากขอเสียโรงงานอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพและปริมาณมากที่สุด จากการวิจัยพบว่าการผลิตสารลีแวนโดยใช้สารตั้งต้นเป็นน้ำตาลซูโครสด้วยเครื่องปฏิกรณ์แบบ กะมีอัตราการลดลงของซูโครสจาก 20%w/v เหลือ 2.04%W/V ที่เวลา 24 ชั่วโมง และอุณหภูมิที่ เหมาะสมคือ 37 °C ในส่วนของการประยุกต์ใช้เอนไซม์จากจุลินทรีย์ พบว่า อุณหภูมิที่มากกว่าหรือน้อย กว่า 37 °C ส่งผลให้กิจกรรมของเอนไซม์ลดลง จุลินทรีย์ Bacillus siamensis สามารถผลิตสารลีแวนจากของเสียโรงงานอุตสาหกรรมได้ดีกว่าจุลินทรีย์ Bacillus siamensis ที่ถูกตรึงด้วยเม็ดอัลจิเนต th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject พรีไบโอติก th_TH
dc.subject น้ำเสีย - - การบำบัด th_TH
dc.subject โรงงานน้ำตาล th_TH
dc.subject จุลินทรีย์ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การผลิตสารพรีไบโอติกมูลค่าสูงด้วยการแปรรูปของเสียจากโรงงานน้ำตาลโดยใช้จุลินทรีย์จากถั่วหมักที่เลี้ยงโดยใช้เทคโนโลยีการตรึงเซลล์แบบต่าง ๆ th_TH
dc.title.alternative High-value of prebiotic production from waste of sugar industry by microbial fermented peas with difference immobilization technology en
dc.type Research th_TH
dc.author.email witawat@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative In this research aims to: 1) investigate the design of batch and plug flow reactors to increase the levan production efficiency by microbial immobilization method and 2) study the levan production from industrial waste. The results revealed that the levan production occurred by the substrate as sucrose with batch the reactor, the sucrose concentration was decreased from 20%w/v to 2.04%w/v within 24 hours at 37 degree Celsius. In the part of enzyme application, the results showed the temperatures increased to higher or decreased to lower than 37 degree Celsius that affected to increase the enzyme activities. The free Bacillus siamensis can produced levan from industrial waste better than the B. siamensis was immobilized by alginate. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account