DSpace Repository

การพัฒนาคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนประจำ จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:32Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:32Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/392
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนาคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนประจำแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษษ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีคะแนนความสัมพันธ์กับเพื่อนในระดับมาก และสมัครใจเข้าร่วมวิจัยจำนวนชั้นเรียนละ 10 คน รวม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรม แนวจิตตปัญญา และแบบวัดคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษาดำเนินการอบรมนักเรียนชั้นละ 3 ครั้ง ๆ ละ 3 ชั่วโมง ทำการทดสอบผลการอบรมด้วยแบบวัดคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา โดยทำการทดสอบก่อน อบรม หลังอบรม และติดตามผลหลังอมรมเป็นเวลา 1 เดือน แล้วนำผลการทดสอบมาทำการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เข้าอบรมมีคะแนนคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา ภายหลังอบรมและระยะติดตามผล สูงกว่าก่อนอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 th_TH
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2553 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject จิตตปัญญาศึกษา th_TH
dc.subject โรงเรียนประจำ th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การพัฒนาคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนประจำ จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative The development of characteristic of youth peer counselor for lower secondary school students in a boarding school at Chonburi province en
dc.type Research
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was study the effects of contemplative education practice on characteristic of youth peer counselor. The sample consisted of thirty lower secondary school students in A Boarding-School at Chonburi Province. Who had the Best Friend Questionnaire (BFQ) were at a high level and volunteered to join this research: ten students for each to three classes. The instruments were Contemplative education practice program and Desirable Characteristics Inventory for Youth Peer Counselors. The interventions were conducted: three hour for each session to three sessions per group. The data collection procedure was divided into three phases: the pre-test and the Follow- up after post-test a month. The data were analyzed by repeated - measure analysis of variance. The results revealed that participants demonstrated significantly higher at .05 levels on characteristic of youth peer counselor in both the post-test and the follow - up than in the pre-test en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account