dc.contributor.author |
มณีรัตน์ คูหาพิทักษ์ธรรม |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-23T07:42:54Z |
|
dc.date.available |
2020-04-23T07:42:54Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3914 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการเกิดโรคของเชื้อ
Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าและโคนเน่าของทุเรียนในประเทศไทย เก็บตัวอย่าง
โรครากเน่าและโคนเน่า จำนวนทั้งสิ้น 100 ตัวอย่าง จากแหล่งปลูกทุเรียนใน 5 จังหวัด ได้แก่
นนทบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และจังหวัดชุมพร ภายหลังทาการแยกเชื้อด้วยวิธี tissue transplanting
method ได้เชื้อ P. palmivora จำนวน 57 ไอโซเลท ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื้อ
P. palmivora ที่แยกได้จากอัตราการเจริญเติบโต รูปร่างโคโลนี และสปอร์แรงเจียม ผลการศึกษา
อัตราการเจริญเติบโตสามารถแบ่งเชื้อ P. palmivora ทั้งหมด ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1. มีการ
เจริญเติบโตเฉลี่ยสูงสุด 6.58 เซนติเมตร จานวน 16 ไอโซเลท 2. มีการเจริญเติบโตเฉลี่ยปานกลาง
5.68 เซนติเมตร จำนวน 35 ไอโซเลท และ 3. มีการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่าสุด 4.74 เซนติเมตร จำนวน
6 ไอโซเลท ตามลาดับ ผลการศึกษาลักษณะโคโลนีของเชื้อ P. palmivora ทุกไอโซเลท พบว่า
สามารถจำแนกได้ 5 รูปแบบ ได้แก่ uniform, radial, stellate, chrysanthemum และ rosette
ตามลำดับ ตรวจสอบรูปร่างและขนาดสปอร์แรงเจียมของเชื้อ P. palmivora จำนวน 18 ไอโซเลท
ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พบว่าเป็นแบบ ovoid ขนาด (กว้าง xยาว) เฉลี่ยเท่ากับ 7.43 x 10.36
ไมโครเมตร ผลการทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื้อ P. palmivora จานวน 18 ไอโซเลท
โดยการตรวจสอบการเกิดแผลจุด ฉ่ำน้ำ บนใบทุเรียนที่ปลูกเชื้อ พบว่ามีความแตกต่างในความรุนแรง
ในการเกิดโรค |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
ทุเรียน |
th_TH |
dc.subject |
ทุเรียน -- โรคและศัตรูพืช |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการเกิดโรคของเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าและโคนเน่าของทุเรียนในประเทศไทย |
th_TH |
dc.title.alternative |
Characterization of morphology and pathogenicity of Phytophthora palmivora a causal agent of root rot and stem rot of durian in Thailand |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
maneenoi@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research aims to characterisation on morphology and
pathogenicity test of Phytophthora palmivora, a causal agent of root rot and stem
rot durian disease in Thailand. A total of one-hundred samples of root rot and stem
rot were collected from 5 durian planting areas consist of Nonthaburi, Rayong, Chantaburi,
Trat and Chumphon provinces. Tissue transplanting method was performed
for P. palmivora isolation and fifty-seven P. palmivora isolates were obtained. Morphology
characterisation of P. palmivora isolates were measured by growth rate,
colony morphology and sporangium. Based on growth rate classification, P. palmivora
isolates are divided into 3 groups including high growth rate at 6.58 centimetres for
16 isolates, medium growth at 5.68 centimetres for 35 isolates and low growth rate at
4.74 centimetres 6 isolates respectively. Colony morphology all of P. palmivora were
classified and the result showed that there are 5 patterns including uniform, radial,
stellate, chrysanthemum and rosette respectively. Light microscopy was used to
observe 18 sporangium isolates and the result showed that all of sprorangium were
ovoid with the dimension (width x length) at approximately 7.43 x 10.36 micrometers.
Pathogenicity test of eighteen P. palmivora isolates showed that all of isolates are different in a virulence, determined by water soaked lesion expression on inoculated durian leave after inoculation |
en |