DSpace Repository

การซ่อมแซมเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่เสื่อมสภาพเนื่องจากเหล็กเสริมเกิดสนิมด้วยแผ่นไฟเบอร์ใยแก้วเสริมกำลัง

Show simple item record

dc.contributor.author อานนท์ วงษ์แก้ว
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:32Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:32Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/388
dc.description.abstract การเกิดสนิมของเหล็กเสริมภายในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เกิดขึ้นเนื่องจากสารประกอบคลอไรด์ที่มีอยู่ในบรรยากาศ ซึ่งพบมากในบริเวณใกล้ชายทะเล ในกระบวนการผุกร่อนนี้ พบว่า มีแรงดันอย่างมากเกิดขึ้นภายในคอนกรีตส่งผลให้ผิวนอกของคอนกรีตเกิดการแตกและกะเทาะออก ซึ่งต่อไปจะทำให้เหล็กเสริมในคอนกรีตเสื่อมสภาพในการรับแรงลง ในงานวิจัยนี้จะนำเสนอการเร่งปฏิกริยาสนิมของเหล็กเสริมภายในโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก จนกระทั่งน้ำหนักของเหล็กเสริมในเสาลดลงจนถึงค่าที่กำหนดไว้ 3 ระดับคือ ระดับต่ำ ระดับปานกลาง และระดับรุนแรง โดยใช้น้ำหนักเหล็กเสริมที่สูญเสียไป 15% 30% และ 50% ของน้ำหนักเหล็กเสริมเริ่มต้นเป็นตัวกำหนดความเสียหาย จากนั้นซ่อมแซมเสาด้วยวัสดุแผ่นไฟเบอร์ใยแก้วเสริมกำลัง ในกรณีที่ความเสียหายไม่มากจะไม่อุดรอยร้าวหรือแตกด้วยวัสดุอื่น ส่วนมากในกรณีที่เสียหายรุนแรง จะซ่อมผิวด้วยซีเมนต์ไม่หดตัวก่อน จากนั้นทดสอบกำลังอัดของเสา โดยเปรียบเทียบกำลังอัดของเสาที่ซ่อมแซมด้วยวัสดุแผ่นไฟเบอร์ใยแก้วเสริมกำลังกับเสาที่ไม่ได้ซ่อมแซม และตัวอย่างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการเร่งปฏิกิริยาสนิม พบว่า เสาที่ซ่อมแซมด้วยวัสดุแผ่นไฟเบอร์ใยแก้วเสริมกำลัง สามารถรับแรงอัดได้มากกว่าเสาที่ไม่ได้รับการซ่อมแซม บางตัวอย่างพบว่ากำลังรับแรงอัดของเสาที่ซ่อมแซมด้วยวัสดุแผ่นไฟเบอร์ใยแก้วเสริมกำลังมีค่ามากกว่าเสาซึ่งไม่ได้ผ่านกระบวนการเร่งปกิกิริยาสนิม นอกจากนี้เสาที่ซ่อมแซมด้วยแผ่นไฟเบอร์ ยังแสดงพฤติกรรมการวิบัติแบเหนียวที่ดีกว่าเสาที่ไม่ได้ซ่อมแซม และเสาต้นแบบ การเร่งปฏิกิริยาสนิมด้วยวิธีทางเคมีให้ผลดี สามารถทำให้เหล็กเสริมเกิดสนิมได้ และสามารถทำนายน้ำหนักเหล็กเสริมที่สูญหายได้ ถึงแม้ว่าค่าน้ำหนักที่สูญหายไปจากการคำนวณและจากผลการทดลอง จะมีความเห็นแตกต่างกันบ้าง แต่ผลที่ได้แสดงไปในทิศทางเดียวกันและมีความสอดคล้องกันดี th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2552 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การก่อสร้างคอนกรีต - - การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม th_TH
dc.subject คอนกรีตเสริมไฟเบอร์ th_TH
dc.subject พลาสติกเสริมแรง th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.subject เสาคอนกรีต - - การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม th_TH
dc.title การซ่อมแซมเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่เสื่อมสภาพเนื่องจากเหล็กเสริมเกิดสนิมด้วยแผ่นไฟเบอร์ใยแก้วเสริมกำลัง th_TH
dc.title.alternative Repair of corrosion-damaged reinforced concrete columns with GFRP en
dc.type Research
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative Corrosion of reinforcement in reinforced concrete structures is encouraged by chloride contamination e.g. from exposure to marine environment. Because of corrosion process, expansive forces in reinforcement are generated in concrete leading to spalling and cracking of the cover and further acceleration of reinforcement deterioration. This study presents experimental results of RC columns subjected to the accelerated corrosion condition. Three corrosion damages with low, medium, and severe levels are set by using the weight loss of steels at 15%, 30%, and 50% of the total weight of steels as the damage levels, respectively. After a target level of steel loss was attained, the RC columns were repaired using the glass fiber reinforced paper (GFRP). The GFRP material was externally bonded to the damaged surface of corroded RC columns without grouting for low and medium levels. For the severe damage, surfaces of rhose corroded columns were repaired with non-shrink grout cement before wrapping with GFRP material. The compressive strength of repaired specimens was compared to the control specimen strength. The results show that the repaired specimens can sustain or even have more compressive strength than the control specimens. The results also show that those repaired columns with GFRP demonstrate a ductile failure manner. The corrosion process accelerated from an electrolytic cell display a consistence result with the experiment. Although the weight loss of steel calculated from electrochemical process show some discrepancies compared with results from the experiment. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account