DSpace Repository

การพัฒนาโปรแกรมการจัดตารางการเก็บเกี่ยวอ้อยด้วยจีเนติกอัลกอริทึม

Show simple item record

dc.contributor.author พัชรวดี พูลสาราญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-12T08:05:04Z
dc.date.available 2020-04-12T08:05:04Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3866
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลสมรรถนะของการผลิตอ้อยด้วยการใช้เทคโนโลยีกูเกิ้ลแมพ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบบริหารจัดการไร่อ้อย และ 3) เพื่อสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับการวางแผนการเก็บเกี่ยวอ้อยที่เหมาะสมกับกำลังการผลิตของโรงงานผลิตน้ำตาล การพัฒนาระบบที่นำเสนอนี้ใช้ภาษาพีเอชพีร่วมกับฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล โดยกำหนดสิทธิของผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ผู้ใช้งานทั่วไป เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และผู้ดูแลระบบ ผลการวิจัยแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนแรกเป็นการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 คน ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ พบว่า 1) ประสิทธิภาพด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.80, S.D.=0.60) 2) ประสิทธิภาพ ด้านกระบวนการทำงานของระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.07, S.D.=0.73) 3) คุณภาพด้านเนื้อหาของระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.93, S.D.=0.65) และ 4) คุณภาพด้านการออกแบบระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.92, S.D.=0.67) และส่วนที่ 2 เป็นการประเมินความพึงพอใจในการใช้งานระบบโดยผู้ใช้บริการจานวน 85 คน ผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า 1) ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจด้านความต้องการในการใช้งานระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.32, S.D.=0.63) 2) ประสิทธิภาพด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.05, S.D.=0.76) 3) ประสิทธิภาพด้านกระบวนการทำงานของระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.16, S.D.=0.71) 4) คุณภาพด้านเนื้อหาของระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.94, S.D.=0.69) และ 5) คุณภาพด้านการออกแบบระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.05, S.D.=0.67 th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว th_TH
dc.subject อ้อย - - การปลูก th_TH
dc.subject พีเอชพี (ภาษาคอมพิวเตอร์) th_TH
dc.subject สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ th_TH
dc.title การพัฒนาโปรแกรมการจัดตารางการเก็บเกี่ยวอ้อยด้วยจีเนติกอัลกอริทึม th_TH
dc.title.alternative Application of sugar cane harvest scheduling by genetic algorithm en
dc.type Research th_TH
dc.author.email patcharp@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative The objectives of this research was 1) to study the development of sugarcane production database management system using Google Map technology, 2) to study the satisfaction of users of sugarcane farm management system, and 3) To create a decision support system for sugarcane harvesting plans that are suitable for the sugar mill's production capacity. The development of the proposed system uses the PHP language and the MySQL database. There are five privilege levels which are the general users, the operational staffs, and the system administrator. The results of the research are divided into 2 parts. The first part is the evaluation of the system performance by 10 experts selected using purposive sampling. The evaluation results found that 1) the accuracy ( X =3.80, S.D.=0.60), 2) the work process efficiency ( X =4.07, S.D.=0.73), 3) the content quality ( X =3.93, S.D.=0.65), and 4) the design quality ( X =3.92, S.D.=0.67) were at the good level. The second part is the evaluation of the system performance by 85 users selected using purposive sampling. The evaluation results found that 1) the need for the development of the sugarcane farm management system ( X =4.32, S.D.=0.63) was at the great level, 2) the accuracy ( X =4.05, S.D.=0.76), 3) the work process efficiency ( X =4.16, S.D.=0.71), 4) the content quality ( X =3.94, S.D.=0.69), and 5) the design quality ( X =4.05, S.D.=0.67) were at the good level. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account