DSpace Repository

การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและการประเมินการรับสัมผัสสาร Organic solvent ในพนักงานฝ่ายผลิต: กรณีศึกษาในโรงงานผลิตรองเท้ายางแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์
dc.contributor.author มริสสา กองสมบัติสุข
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-02T02:43:23Z
dc.date.available 2020-04-02T02:43:23Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3833
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง โดยมีการประเมินการรับสัมผัสสาร Organic solvent และการประเมินค่าความเสี่ยงด้านสุขภาพของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานผลิตรองเท้ายางแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยจำนวนตัวอย่างทั้งหมดในการศึกษามี 320 คน แบ่งเป็น กลุ่มศึกษา 170 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 150 คน กลุ่มศึกษามีอายุเฉลี่ย 33.32 ปี และ 39.69 ปี สำหรับกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มศึกษามีสภาพการทำงานในแต่ละวันในหน้าที่หลักในการผลิตรองเท้ายาง 12 ชั่วโมงต่อวัน (รวมล่วงเวลา) ร้อยละ 30.0 และทำงาน 6 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 100.0 มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจทุกครั้ง ร้อยละ 63.5 โดยส่วนใหญ่มีการใช้หน้ากากที่ทำมา จากกระดาษกรอง ร้อยละ 96.9 ในการเก็บตัวอย่างอากาศใช้ Organic Vapor Monitor (3M 3500) ติดตัวบุคคลในระดับการหายใจของกลุ่มศึกษา พบว่า กลุ่มศึกษา (n=100) มีค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ Toluene 19,780.94± 46,529.281 ppb, Acetone 24,943.95± 46,887.189 ppb, MEK 22,173.79± 29,356.401 ppb, MIBK 547.73± 975.472 ppb, Benzene 3.00± 14.161 ppb และ Ethyl benzene 3.95 ±9.397ppb และมีการเก็บตัวอย่างปัสสาวะหลังสิ้นสุดการทำงาน พบว่า กลุ่มศึกษา (n=170) มีค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ Toluene ในปัสสาวะ 0.146 ± 0.200 mg/l, Ethyl benzene ในปัสสาวะ 0.036 ± 0.060 mg/l, Benzene ในปัสสาวะ 0.011 ± 0.057 mg/l, Acetone ในปัสสาวะ 0.003 ± 0.007 mg/l, MEK ในปัสสาวะ 0.282 ± 0.397 mg/l และ MIBK ในปัสสาวะ 0.000 ± 0.001 mg/l และเมื่อ ประเมินค่าความเสี่ยง (HQ) พบว่า สาร Toluene และ MEK อยู่ในระดับอันตรายมากและเมื่อ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของปริมาณระดับความเข้มข้นของสาร Toluene และ Benzene ในบรรยากาศ การทำงานแบบติดตัวบุคคลระหว่างกลุ่มศึกษาและกลุ่มเปรียบเทียบ มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 (p < 0.001 และ p =0.037 ตามลำดับ) และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของปริมาณระดับความเข้มข้นของสาร Toluene, Ethyl benzene, Acetone, MEK, Benzene และ MIBK ในปัสสาวะระหว่างกลุ่มศึกษาและกลุ่มเปรียบเทียบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 (p <0.001, p <0.001, p <0.001, p <0.001, p = 0.011 และ p = 0.016 ตามลำดับ) เมื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณระดับความเข้มข้นของสาร Acetone, MEK และ MIBK ในบรรยากาศการทำงานแบบติดตัวบุคคล มีความสัมพันธ์กับปริมาณระดับความ เข้มข้นของสาร Acetone, MEK และ MIBK ในปัสสาวะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 (p<0.001, p<0.001 และ p=0.037 ตามลำดับ) จากผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้ตระหนักได้ว่า กลุ่ม ศึกษามีการสัมผัสสาร Organic solvent ในขณะที่ปฏิบัติงานและค่าความเสี่ยงของสาร Toluene และ MEK อยู่ในระดับอันตรายมาก ดังนั้นควรให้ความสำคัญกับโปรแกรมการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ รวมถึงการให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจที่ถูกต้องและเหมาะสมตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ th_TH
dc.subject ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม th_TH
dc.subject โทลูอีน th_TH
dc.subject สารเอ็มอีเค th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและการประเมินการรับสัมผัสสาร Organic solvent ในพนักงานฝ่ายผลิต: กรณีศึกษาในโรงงานผลิตรองเท้ายางแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร th_TH
dc.title.alternative Health risk assessment and evaluation of organic solvent exposure among workers: The case study in a rubber shoes manufacturing factory in Bangkok en
dc.type Research th_TH
dc.author.email sriratl@hotmail.com th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative This research was a cross sectional study. The objectives were to evaluate organic solvent exposure and hazard quotient among workers in a rubber shoes manufacturing factory in Bangkok. We sampled 320 persons; 170 cases and 150 referents. Mean age of the cases was 33.32 years old, whereas 39.69 years old for the comparison group. Thirty percent of the cases worked 12 hours per day (including over time), 6 days per week (100.0%). Sixty three point five percent always used respiratory protection; however, most of them used only dust masks (96.9%). Collection of personal organic solvent exposure was conducted using “Organic Vapor Monitor (3M 3500)”, attached to the lapel of each subject (n=100). Results of the study group showed an the average toluene concentration at 19,780.94± 46,529.281 ppb, Acetone 24,943.95± 46,887.189 ppb, MEK 22,173.79± 29,356.401 ppb, MIBK 547.73± 975.472 ppb, Benzene 3.00± 14.161 ppb, and Ethyl benzene 3.95 ±9.397 ppb. Urine samples were collected at the end of work shift. Results of urine samples (n=170) showed an average of Toluene in urine at 0.146 ± 0.200 mg/l, Ethyl benzene in urine 0.036 ± 0.060 mg/l, Benzene in urine 0.011 ± 0.057 mg/l, Acetone in urine 0.003 ± 0.007 mg/l, MEK in urine 0.282 ± 0.397 mg/l and MIBK in urine 0.000 ± 0.001 mg/l. Hazard quotient (HQ) showed that toluene and MEK was at high level. The average comparison of toluene and benzene exposure was significantly different between the study and the comparison groups at 0.01 and 0.05 significant level (p < 0.001 and p =0.037, respectively). The average comparison of toluene, ethyl benzene, acetone, MEK, benzene and MIBK in urine was significantly different between the study and comparison groups at 0.01 and 0.05 significant level (p <0.001, p <0.001, p <0.001, p <0.001, p = 0.011 and p = 0.016, respectively). However, the relationship between acetone, MEK and MIBK exposure and acetone, MEK and MIBK in urine of the study group was significantly different at 0.01 and 0.05 significant level (05 (p<0.001, p<0.001 and p=0.037, respectively). Based on the results of this study, organic solvent exposure among workers was detected. Hazard quotient of toluene and MEK was high. Health promotion and protection programs should be emphasized. Respiratory protective equipment should also be provided. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account