DSpace Repository

การศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพสำหรับปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์

Show simple item record

dc.contributor.author ญาณิศา ละอองอุทัย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-02T01:57:42Z
dc.date.available 2020-04-02T01:57:42Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3832
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นศึกษาการผลิตแก๊สชีวภาพจากตะกอนเลนบ่อกุ้งจากฟาร์มกุ้งในภาคตะวันออกและเพื่อเพิ่มจำนวนจุลชีพในถังหมักพบว่าสามารถผลิตแก๊สชีวภาพที่มีมีเทนเป็นองค์ประกอบ 68% ซึ่งค่อนข้างสูง จากนั้นทำการแยกเชื้อที่สาคัญในกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพพบว่าได้เชื้อที่มี ความสำคัญในกระบวนการกระบวนการไฮโดรไลซิสและกระบวนการอะซิโดเจนนีซีส โดยเชื้อหลักแยกได้ คือ Exiguobacterium Bacillus, Staphylococcus epidermidis และ Staphylococcus aureus และจากนั้นสกัดดีเอ็นเอจากเชื้อรวมที่โตในถังหมักเพื่อใช้เป็นต้นแบบในการสังเคราะห์ยีนเป้าหมายนั่น คือ mcrA, hydA และ HoxE ที่มีความสำคัญในการผลิตมีเทนและไฮโดรเจน ซึ่งสังเคราะห์ได้ตามขนาดที่คาดหวัง แต่เมื่อทาการโคลนนิ่งและหาลำดับเบสแล้วไม่ใช่ยีนดังกล่าว โดยทำการศึกษาหาสาเหตุและทำการปรับสภาวะต่าง ๆ คือ กระบวนการสกัดดีเอนเอ สภาวะการทำ PCR primer รวมถึงชนิดของยีนเป้าหมาย โดยใช้เวลาร่วมแล้วสองปีกว่า ก็ยังไม่สามารถผลิตเชื้อสายพันธุ์ลูกผสมที่มีคุณสมบัติในการผลิตมีเทนหรือไฮโดรเจนได้ ซึ่งอาจจะเป็นเพราะ ดีเอนเอต้นแบบที่นามาใช้ในการทดลองเป็นแบบดีเอนเอรวม (pool DNA) ซึ่งมาจากหลายสปีชีส์รวมกันในกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพ อาจจะเป็นการยากที่จะได้ยีนเป้าหมายเดี่ยว ๆ หรือ/และ ในระบบมีเชื้อที่มีความสามารถในการผลิตไฮโดรเจนอยู่ในระบบน้อยจึงไม่สามารถเพิ่มจำนวนยีนเป้าหมายได้ หรือ/และ ตัวอย่างที่นำมาสกัดดีเอนั่นก็คือตะกอนเลนบ่อกุ้งมีสารบางชนิดที่สามารถยับยั้งหรือทำลายดีเอนเอเป้าหมายที่สนใจทำให้ขัดขวางการโคลนนิ่งได้ ดังนั้น ถึงแม้ตะกอนเลนบ่อกุ้งจะเป็นแหล่งผลิตแก๊สชีวภาพที่ดี แต่ก็เป็นตัวอย่างที่ไม่เหมาะสมในการนำมาเป็นแหล่งสังเคราะห์ยีนที่สำคัญต่อการผลิตแก๊สชีวภาพ จึงจำเป็นต้องหาแหล่งตัวอย่างแหล่งอื่น หรือเทคนิคอื่นที่มีความทันสมัยเข้ามาช่วย เช่น การทำ metagenomics library เพื่อให้บรรลุวัตถุที่ตั้งไว้ต่อไป th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ยีน th_TH
dc.subject จุลชีพ th_TH
dc.subject พันธุวิศวกรรม th_TH
dc.subject ก๊าซชีวภาพ th_TH
dc.subject จุลินทรีย์ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพสำหรับปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ th_TH
dc.title.alternative The study of genes involving in Biogas Production for improving bacterial strain en
dc.type Research th_TH
dc.author.email yanisa@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aimed to study the biogas production from shrimp pond sediment in eastern part of Thailand. The microbe in shrimp pond was grown during the fermentation process. The high methane was revealed 68% of gas composition. The microbe involving in biogas production was isolated which related to hydrolysis and acidogenesis processes. Exiguobacterium Bacillus, Staphylococcus epidermidis and Staphylococcus aureus were main microorganism. The total DNA of microbial population was extracted from the fermenter after biogas production. These DNA was used as the template of mcrA, hydA and HoxE synthesis. These target genes are important in methane and hydrogen production. The expected size was shown in gel electrophoresis. However, it showed that none of them were expect genes after cloning and sequencing. The research group tried to solve the problem and looked for all possibilities that might cause the negative result. We adjusted many conditions such as methods for DNA extraction, PCR conditions, primers and change the target gene etc. But the recombinant clone was still could not constructed. This might be because (1) the DNA template was pool DNA from many species which might difficult to get the only specific gene and/or (2) in the fermenter had small amount of methane and hydrogen producing microbe and/or (3) shrimp sediment samples might contain substance which binded to target gene and formed a complex that blocked the cloning process resulting of none target genes were clone. However, shrimp pond sediment could be a good source for biogas production but this sample was not suitable for synthesis the biogas production genes. It need to look for other sources for microbial DNA template or using other techniques such as construct the metagenomics library. These may help we meeting our objective. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account