dc.contributor.author |
นภัสสร ฉันทธำรงศิริ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-31T01:30:48Z |
|
dc.date.available |
2020-03-31T01:30:48Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3826 |
|
dc.description.abstract |
ชันจากชันโรงเป็นผลพลอยได้จากการเลี้ยงชันโรงของเกษตรกร เพื่อใช้ในการผสมเกสรเพื่อเพิ่มผลผลิตของผลไม้เศรษฐกิจ จากการศึกษาฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งชนิดต่าง ๆ ของสารสกัดชัน จากชันของชันโรงสายพันธุ์ Tetragonula pegdeni ที่เก็บได้จากแหล่งต่าง ๆ ในจังหวัดจันทบุรี ได้แก่
ป่าชายเลน สวนส้มโอ และสวนสมุนไพร พบว่าสารสกัดชันจากสวนส้มโอ
มีฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งตับ (HepG2 cell) และเซลล์มะเร็งผิวหนัง (SK-MEL-28 cell) ได้ดี ด้วยค่า IC50 เท่ากับ 63.43 และ 18.71 μg/mL ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับสารมาตรฐาน doxorubicin (IC50 เท่ากับ 36.34 และ 5.95μg/mL ตามลำดับ) และแสดงความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติในระดับต่ำ (IC50 เท่ากับ 213.85 μg/mL) จึงมีความน่าสนใจในการนำมาศึกษาองค์ประกอบทางเคมี และจากการแยกสารด้วยวิธี chromatography ได้แก่ flash column chromatography (SiO2, dichloromethane : methanol,
9:1 ตามด้วย SiO2, hexane : ethyl acetate, 1:1) และ HPLC (C18, 10-35% water in methanol,
flow rate 2.3 mL/min, RT = 8.5 min) ได้สารบริสุทธิ์รายการแรกเป็นสารในกลุ่ม indole alcohol
ได้แก่ 1H-indole-2-methanol-3-ol,2,3-dihydro-6-methoxy (1) สารบริสุทธิ์รายการที่ 2 ซึ่งเป็นอนุพันธุ์ dimethoxy ได้มาจากการแยกสารด้วย HPLC (C18, 55% water in acetonitrile, flow rate 2.6 mL/min, RT = 14.6 min) และสารบริสุทธิ์รายการที่ 3 ซึ่งเป็นสารในกลุ่ม terpene ได้มา
จากการแยกสารด้วย HPLC (C18, 10% water in acetonitrile, flow rate 2.0 mL/min, RT = 15.4
min) |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ชันโรง |
th_TH |
dc.subject |
เซลล์มะเร็ง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งของสารสกัดชันจากชันโรงจากแหล่งต่าง ๆ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Investigation of Antiproliferative Activity of Stingless Bee Propolis Extracts from Different Surroundings under the plant Genetic Conservation Project of the Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
naphatson@go.buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2560 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Stingless bee, Tetragonula pegdeni, is popular to culure by the farmers in Chanthaburi province beacuse it can increase productivity of fruit in the orchard. Propolis is a by product from stingless bee culture. The cytotoxicity of propolis extracts from 3 sources, mangrove forest, herbal garden and Citrus maxima orchard, are investigated. The propolis extract from Citrus maxima orchard exhibits potent cytotoxicity to HepG2 and SK- MEL- 28 cells with IC50 = 63. 43 and 18. 71 μg/ mL,
respectively, and using doxorubicin as standard ( IC50 = 36. 34 and 5. 95 μg/ mL,
respectively) . This extract also shows low toxicity to human fibroblast cell with IC50 =
213. 85 μg/mL, lead to identify chemical constituents by chromatographic techniques.
The extract was separated by flash column chromatography (SiO2, CH2Cl2: methanol, 9:1
and SiO2, hexane: ethyl acetate, 1: 1) and purified by HPLC ( C18, 10- 35% water in
methanol, flow rate 2.3 mL/min, RT = 8.5 min) while compound 2 was purified by HPLC
(C18, 55% water in acetonitrile, flow rate 2.6 mL/min, RT = 14.6 min). Compounds 1 and
2 were identified as 1H-indole-2-methanol-3-ol,2,3-dihydro-6-methoxy and dimethoxy
derivative, respectively by ESIMS and other spectroscopic data. |
en |