DSpace Repository

นวัตกรรมการสกัดพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ทางยาอย่างต่อเนื่อง ประสิทธิภาพสูงและได้มาตรฐานการผลิตทางเภสัชกรรมด้วยระบบบิวเทนภายใต้ความดันสูงร่วมกับคาร์บอนไดออกไซด์ยิ่งยวด

Show simple item record

dc.contributor.author อาลักษณ์ ทิพยรัตน์
dc.contributor.author อาณัติ ดีพัฒนา
dc.contributor.author ณัฎฐิณี ธีรกุลกิตติพงศ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-02-04T01:34:41Z
dc.date.available 2020-02-04T01:34:41Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3756
dc.description.abstract นวัตกรรมการสกัดพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ทางยาอย่างต่อเนื่อง ประสิทธิภาพสูงและได้มาตรฐานการผลิต ทางเภสัชกรรมด้วยระบบบิวเทนภายใต้ความดันสูงร่วมกับคาร์บอนไดออกไซด์ยิ่งยวด ได้ทำการพัฒนา กระบวนการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์วิกฤตยิ่งยวดให้มีช่วงอุณภูมิในการสกัดระหว่าง 35 ถึง 82 องศาเซลเซียส ที่ความดันมากกว่า 73.8 บาร์ โดยการออกแบบห้องสกัดแบบคู่ขนาน ทำให้สามารถสกัดสารสกัดหยาบเป้าหมายได้ในระบบกึ่งต่อเนื่อง อีกทั้งได้ทำการทดสอบประสิทธิภาพของระบบการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์วิกฤตยิ่งยวดที่ได้มีการพัฒนาขึ้นในโครงการนี้โดยการใช้กา แฟคั่วเป็นวัตถุดิบทดสอบทำการศึกษาความสามารถในการสกัดสารสกัดหยาบของกาแฟที่ความดัน 200 บาร์ อุณหภูมิในการสกัดระหว่าง 45 ถึง 82 องศาเซลเซียส และเปรียบเทียบจำนวนรอบในการสกัด จากการทดลองพบว่า เมื่ออุณหภูมิในการสกัดสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระที่ดีขึ้น และปริมาณฟีนอลรวมสูงขึ้น อีกทั้งสารสกัดหยาบจากกาแฟคั่วมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบ คทีเรียและยีสต์ ได้แก่ Staphylococcus aureus, Bacillus subtilis, Salmonella typhimurium, Escherichia coli (ESBL), Staphylococcus aureus (MRSA) และ Candida albicans ในโครงการวิจัยนี้ได้นำเสนอแนวทางกระบวนการสกัดพืชสมุนไพรด้วยบิวเทน โดยได้ทำการสกัดพืช สมุนไพรกลุ่มเป้าหมายเบื้องต้นได้แก่ ใบเตย ตะไคร้ รวมไปถึงการสกัดดอกไม้สด ได้แก่ ใบเตยสด ดอกจำปีสดดอกมะลิสด เพื่อเป็นแนวทางในการสกัดพืชสมุนไพรและดอกไม้ โดยให้ยังคงสีและกลิ่นได้ดี th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject พืชสมุนไพร th_TH
dc.subject เภสัชกรรม th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title นวัตกรรมการสกัดพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ทางยาอย่างต่อเนื่อง ประสิทธิภาพสูงและได้มาตรฐานการผลิตทางเภสัชกรรมด้วยระบบบิวเทนภายใต้ความดันสูงร่วมกับคาร์บอนไดออกไซด์ยิ่งยวด th_TH
dc.title.alternative Pharmaceutical-grade, high-throughput, continuous medicinal herbs extraction combining liquefied butane and supercritical carbon dioxide technologies en
dc.type Research th_TH
dc.author.email aluck@eng.buu.ac.th th_TH
dc.author.email anat@buu.ac.th th_TH
dc.author.email nuttinee@go.buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative This research demonstrates the novel semi-continuous extraction technology of local medicinal herbs using High Pressure Butane Extraction (HPBE) combined with Supercritical Carbon dioxide Extraction (SCE). The developed extractors for both HPBE and SCE perform well in extracting essential oils from plant material on both efficacy and quality to soon meet pharmaceutical standards. For the SCE, the machine covers the temperature range between 35 and 82 degree Celsius with pressure well above 73.8 Bar. The twin column design enables the crude extraction semi-continuously. A few plant samples were used in this study. Commercially-available roasted coffee beans were extracted at 200 Bar at 45-82 degree Celsius and the effect of extracting cycles were investigated. The results show the increase of extracting temperature played a subtle role in increasing the anti-free radical property and the total polyphenol content of the coffee bean extract. This extract is effective in suppressing the growth of several bacteria and yeast used in this study, including Staphylococcus aureus, Bacillus subtilis, Salmonella typhimurium, Escherichia coli (ESBL), Staphylococcus aureus (MRSA), and Candida albicans. The potential uses of this technology were extended leafy plants (i.e., Pandan, Lemongrass) and other fragrant flowers (i.e., White Champaka, Jasmine). Several trails run to extract the fragrant essential oils from these plant materials were investigated and used to improve the original design of the machine. The crude extracts of these samples showed intense aroma and light color oil. Hence, the future application of this technology to extract flowery essential oils seems promising. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account