dc.contributor.author |
เอกรัตน์ วงษ์แก้ว |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-01-07T08:10:22Z |
|
dc.date.available |
2020-01-07T08:10:22Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3731 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาวิธีการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะคู่แพลทินัม-นิกเกิลบนตัวรองรับไทเทเนียมไดออกไซด์ในลักษณะแกนกลางเปลือกหุ้ม เพื่อใช้ในการเร่งปฏิกิริยาการชิพน้ำ ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกเตรียมเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของโลหะแกนกลางนิกเกิล ถูกเตรียมด้วยวิธีการเอิบชุ่มแบบแห้ง และส่วนของโลหะเปลือกหุ้ม
แพลทินัม ถูกเตรียมด้วยวิธีการพอกพูนโลหะโดยไม่ใช้ไฟฟ้า ที่สัดส่วนแพลทินัมปกคลุมบนนิกเกิล 0.1, 0.2, 0.4, 0.6, 0.8 และ 1.0 สำหรับการเตรียมเปลือกหุ้มใช้สารละลายเฮกซะคลอโรแพลทินิกเป็นสารตั้งต้นของโลหะแพลทินัม สารรีดิวซ์ที่ใช้ คือ โซเดียมไฮโปฟอสไฟต์ กำหนดอัตราส่วนของแพลทินัมต่อโซเดียมไฮโปฟอส-ไฟต์ เป็น 1:20 โดยโมล ทำการควบคุมอุณหภูมิที่ 70 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 9 จาก
การทดลองพบว่า การพอกพูนโลหะที่สัดส่วนการปกคลุมสูงขึ้น ปริมาณแพลทินัมจะคงเหลืออยู่ในสารละลายมากขึ้น และความหนาของชั้นเปลือกหุ้มจะน้อยกว่าที่คำนวณตามทฤษฎี และเมื่อนำมาวิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพของตัวเร่งด้วยเทคนิคบีอีที พบว่าการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะคู่แพลทินัม-นิกเกิล บนตัวรองรับไทเทเนียมไดออกไซด์ ด้วยวิธีการพอกพูนโลหะโดยไม่ใช้ไฟฟ้า ไม่ส่งผลกระทบต่อค่าพื้นที่ผิวจำเพาะและขนาดรูพรุนเฉลี่ยของตัวเร่งปฏิกิริยา และจากภาพถ่ายกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านโหมดดาร์กฟิลด์ พบว่าแพลทินัมไม่เกิดการสะสมลงบนตัวรองรับไทเทเนียมไดออกไซด์ ซึ่งเป็นลักษณะของโลหะแกนกลางเปลือกหุ้ม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
(งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2560 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การสังเคราะห์ Bimetallic Pt/Ni ในรูปแบบ Core-Shell บนตัวรองรับออกไซด์เพื่อใช้ในปฏิกิริยาการชิพน้ำ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Synthesis of Pt-Ni core-shell nanocatalysts for the water gas shift reaction |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
akkarat@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this work was to study the preparation of platinum-nickel core-shell
structure on titanium dioxide support for water gas shift reaction. Incipient wetness
impregnation was used for preparation of nickel core and electroless deposition (ED) was
used for preparation of Pt shell with the various surface coverages of Pt on Ni; 0.1, 0.2, 0.4,
0.6, 0.8 and 1.0 monolayer (ML). The ED bath contains PtCl62- as the Pt precursor and
sodium hypophosphite (NaH2PO2) as a reducing agent. The molar ratio of [PtCl62-] to [H2PO2-]
was maintained at 1:20. The temperature was controlled at 70° C and the pH of ED bath was
maintained at 9. The results indicate that the more the surface coverages, the higher the
amount of PtCl62- remaining in the ED bath. This was not followed the theoretical coverages.
Furthermore, the catalysts were characterized for their physical properties using N2
adsorption, XRD and TEM. It was found that the deposition of various amount Pt on Ni by ED
does not affect to the specific surface area and the average pore diameter. The dark-field
images indicate the formation of core-shell structure of the catalysts. |
en |
dc.keyword |
ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะคู่ |
th_TH |
dc.keyword |
การพอกพูนโลหะโดยไม่ใช้ไฟฟ้า |
th_TH |
dc.keyword |
ไทเทเนียมไดออกไซด์ |
th_TH |