dc.contributor.author |
ภัทรวดี ศรีคุณ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-10-07T06:29:48Z |
|
dc.date.available |
2019-10-07T06:29:48Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3695 |
|
dc.description.abstract |
ผึ้งชันโรงเป็นผึ้งที่มีขนาดเล็ก และไม่มีเหล็กใน ที่เกษตรกรในเขตภาคตะวันออก ของประเทศไทยนิยมเลี้ยงเพื่อประโยชน์ในการผสมเกสรช่วยขยายพันธุ์พืชผล น้ำผึ้งนั้นได้มี รายงานการใช้ทางยามาเป็นเป็นเวลานาน เช่น ใช้เพื่อสมานแผล มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย และฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ เป็นต้น การศึกษาใน ประเทศไทยรวมทั้งต่างประเทศส่วนมากเป็นการศึกษาจากผึ้งสายพันธุ์ที่มีเหล็กใน ดังนั้น การวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของน้ำผึ้งจากผึ้งชันโรง สายพันธุ์ขนเงิน วิธีการและผลการทดลอง ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พบว่าน้ำผึ้งที่ได้จากป่าชายเลนนั้น มีฤทธิ์ สูงกว่าน้ำผึ้งที่ได้จากสวนผลไม้และน้ำผึ้งจิตรลดา มีค่า IC50 เท่ากับ 19.82±1.82, 62.27±3.95 % (w/v) และไม่สามารถหาค่าได้ ตามลำดับ โดย DPPH assay และน้ำผึ้งจากทุกแหล่งมีฤทธิ์ใน การต้านการอักเสบ ด้วยวิธี Proteinase inhibitory assay และ มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของ ต่อเชื้อ S. aureus และ S. epidermidis ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมบวก และยับยั้งการสร้างแอดวานซ์ ไกลเคชันเอนด์โพรดัคท์ โดยน้ำผึ้งจิตรลดามีความสามารถในการได้สูงกว่าน้ำผึ้งจากอีก 2 แหล่ง สรุปและอภิปราย พบฤทธิ์ของการต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ยับยั้งการ เจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และฤทธิ์ยับยั้งการสร้างแอดวานซ์ไกลเคชันเอนด์ โพรดัคท์ของน้ำผึ้งจากสวนผลไม้ ป่าชายเลนและน้ำผึ้งจิตรลดา โดยฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจะพบ สูงสุดในน้ำผึ้งจากชันโรงที่ได้จากป่าชายเลน ส่วนฤทธิ์อื่น ๆ พบว่าน้ำผึ้งจิตรลดามีแนวโน้มของฤทธิ์ สูงกว่า |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ชันโรง |
th_TH |
dc.subject |
ผึ้ง - - การเลี้ยง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
|
dc.title |
โครงการตรวจสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของน้้าผึ้งชันโรง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Determination of pharmacological activity of honey from stingless bees |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
pattaravadees@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Introduction Stingless has been known to use in agriculture, especially in Eastern Thailand, for a long time. They are used to fertilize plants including fruit trees. Moreover, honey has been used in Ayuravedic for thousand years such as wound healing, anti-inflammation, anti-oxidant and anti-bacterium. However, most of studies investigated the honey from sting-available bee species, not stingless bees. Therefore, this study aims to study bioactivities of honey from stingless bees. Methods Anti-oxidant activity was found in honey from mangrove forest higher than in fruit orchard or Jitralada honey at IC50 19.82±1.82, 62.27±3.95 % (w/v) which Jitralada honeny could not be determined by DPPH assay. All kinds of kiney showed activity of anti-inflammation, anti-bacterium (gram positive bacilli) and antiAGEs formation whereas the honey of Jitralada brand shwed the hight potency than other 2 honey samples from mangrove forest and fruit orchard. Results and Conclusion Anti-oxidant, anti-inflammatory, anti-bacterial activities and anti-AGEs formation were found in honey samples from fruit orchard, mangrove forest and Jitralada brand. The anti-oxidant effect shwed the highest potency in honey from mangrove forest whereas the anti-inflammation, andtibacterium and anti-AGEs formation tend to be found the highest potency in Jitralada honey. |
th_TH |