dc.description.abstract |
การศึกษาพันธุศาสตร์เซลล์ของวงศ์ย่อยปลาบู่ (Gobiinae) ในประเทศไทย 8 ชนิด ได้แก่ ปลาบู่กุ้ง ยักษ์ (Amblyeleotris sp.) ปลาบู่หัวโต (Acentrogobius viridipunctatus) ปลาบู่แก้มตกสะเก็ด (Aulopareia janetae) ปลาบู่หินดำ (Butis amboinensis) ปลาตีน (Glossogobius giuris) ปลาบู่ทราย แก้มจุดฟ้า (Valenciennea sexguttata) ปลาบู่ทรายเส้นชมพู (V. muralis) และปลาบู่ทรายแก้มขีดฟ้า (V. strigata) เตรียมโครโมโซมจากไตด้วยวิธีการบดขยี้เซลล์ และการเพาะเลี้ยงเซลล์เม็ดเลือดขาว ทำการย้อมสี โครโมโซมแบบธรรมดาและแถบสีแบบนอร์ ผลการศึกษาพบว่ามีจำนวนโครโมโซมดิพลอยด์เท่ากับ 46, 50, 50, 46, 46, 44, 44 และ 44 แท่ง ตามลำดับ มีจำนวนโครโมโซมพื้นฐานเท่ากับ 82, 88, 100, 46, 46, 46, 44 และ 48 ตามลำดับ สามารถจัดสูตรคาริโอไทป์ ดังนี้ ปลาบู่กุ้งยักษ์ (2sm + 34a + 10t), ปลาบู่หัวโต (2sm + 36a + 12t), ปลาบู่แก้มตกสะเก็ด (12sm + 12sm + 26a), ปลาบู่หินด า (46t), ปลาตีน (44t), ปลาบู่ทราย แก้มจุดฟ้า (2m + 42t), ปลาบู่ทรายเส้นชมพู (44t) และปลาบู่ทรายแก้มขีดฟ้า (2m + 2a + 40t) ตรวจไม่พบ ความแตกต่างของของคาริโอไทป์ระหว่างปลาบู่เพศผู้และเพศเมีย การย้อมแถบสีแบบนอร์พบนอร์ 2 ตำแหน่งใน ปลาบู่ทุกชนิด ข้อมูลทางพันธุศาสตร์ระดับเซลล์ที่ได้นี้แสดงถึงความแปรผันทางโครโมโซมของปลาที่ศึกษา ทั้งภายในสกุลและระหว่างสกุลที่ซึ่งมีความใกล้ชิดกัน ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้เป็นรายงานพันธุศาสตร์ ระดับเซลล์ครั้งแรกของปลาปลาบู่กุ้งยักษ์ ปลาบู่หัวโต ปลาบู่แก้มตกสะเก็ด ปลาบู่หินดำ ปลาตีน ปลาบู่ทราย แก้มจุดฟ้า ปลาบู่ทรายเส้นชมพู และปลาบู่ทรายแก้มขีดฟ้า การศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานทางชีววิทยา และความหลากหลายทางพันธุกรรมในปลาของประเทศไทย ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับองค์ความรู้ ด้านอนุกรมวิธาน พันธุศาสตร์ วิวัฒนาการ และชีววิทยาโมเลกุล |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Cytogenetics of eight species of some fishes (subfamily Gobiinae) in Thailand were studied such as Amblyeleotris sp., Acentrogobius viridipunctatus, Aulopareia janetae, Butis amboinensis, Glossogobius giuris, Valenciennea sexguttata, V. muralis and V. strigata. Chromosomes from kidney tissue and T-lymphocyte cell culture and square techniques were prepared by breaking cell and followed by conventional staining and NOR-banding techniques. The result showed that diploid chromosome number (2n) of 46, 50, 50, 46, 46, 44, 44 and 44, respectively with the fundamental number (NF) or chromosome arms of 82, 88, 100, 46, 46, 46, 44 and 48, respectively. The karyotypic formula of fishes can be shown as following: Amblyeleotris sp. (2sm + 34a + 10t), Acentrogobius viridipunctatus (2sm + 36a + 12t), Aulopareia janetae (12sm + 12sm + 26a), Butis amboinensis (46t), Glossogobius giuris (44t), V. sexguttata (2m + 42t), V. muralis (44t) and V. strigata (2m + 2a + 40t). No strange size chromosomes related to sex was observed in all species. The results showed all species had NORs 2 positions. The obtained results revealed the variations found in the chromosomal characteristics within genus and among the closely related genera. In addition, we appreciate to present that the findings which were obtained in the present study provide the first cytogenetic reports on Amblyeleotris sp., Acentrogobius viridipunctatus, Aulopareia janetae, Butis amboinensis, V. sexguttata, V. muralis and V. strigata. All obtained results of the present study are basic information of fish biology and genetic diversity which is useful for taxonomy, genetics, evolution and molecular biology of these fishes |
th_TH |