dc.contributor.author |
วิทวัส แจ้งเอี่ยม |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-06-14T06:23:21Z |
|
dc.date.available |
2019-06-14T06:23:21Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3600 |
|
dc.description.abstract |
การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการบำบัดน้ำเสียโรงงานผลิตกระดาษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบำบัดน้ำเสียแบบกระบวนการชีวภาพ มีความส้าคัญมากกับการด้าเนินการของโรงงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมกระบวนการแรก คือการคัดเลือกจุลินทรีย์จากบ่อบำบัดน้ำเสียของโรงงานผลิตกระดาษที่เป็นจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยเซลลูโลสที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดาษได้ดีโดยใช้วิธี Congo red เมื่อเวลาครบ 48 ชั่วโมง พบว่ามีจุลินทรีย์ทั้งหมด 8 ชนิดที่สามารถย่อยสลายเซลลูโลสได้ดีโดยเฉพาะจุลินทรีย์ CDB6 สามารถย่อยสลายเซลลูโลสได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับจุลินทรีย์ตัวอื่น ๆ จากนั้นนำจุลินทรีย์ทั้ง 8 ชนิดไปวิเคราะห์หาปริมาณน้ำตาลกลูโคสที่เป็นผลผลิตของการย่อยสลายเซลลูโลส โดยใช้วิธี DNS ซึ่งในการวิเคราะห์จะแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนหลัก ๆ โดยตอนที่ 1 จะใช้สารละลาย CMC เป็นตัวกระตุ้นความสามารถของจุลินทรีย์ในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสเพื่อย่อยสลายเซลลูโลส ส่วนในตอนที่ 2 จะใช้กระดาษ Whatman No.1 เป็นตัวกระตุ้นความสามารถของจุลินทรีย์ในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสเพื่อย่อยสลายเซลลูโลส พบว่าจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสเพื่อย่อยสลายเซลลูโลสได้ดีที่สุดในทั้งสองการทดลองคือ จุลินทรีย์ CDB 4 โดยมีค่ากิจกรรมของเอนไซม์เท่ากับ 0.0533 และ 0.0456 IU/ml จากนั้นวิเคราะห์ลักษณะเชิงคุณภาพของ
การย่อยสลายเซลลูโลส ของจุลินทรีย์ CDB 4 โดยวิธีTLC (Thin-layer chromatography)
พบว่าไม่เกิดจุดของน้ำตาลกลูโคส จากนั้นนำจุลินทรีย์ CDB 4 ไปตรึงบนเม็ดตรึงอัลจิเนต โดยมีขนาดของเม็ดตรึงเท่ากับ 4 มิลลิเมตร บรรจุลงในคอลัมน์แพคเบดเพื่อบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตกระดาษและทำการเก็บตัวอย่างหน้าที่ผ่านการบำบัดทุก ๆ 4 ชั่วโมง จนครบ 48 ชั่วโมง มาตรวจวัดค่าซีโอดี
พบว่า สามารถลดค่าซีโอดีจาก 1171 มิลลิกรัมต่อลิตร เหลือ 267 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งแสดงให้เห็นว่าค่าซีโอดีลดลงอย่างต่อเนื่อง สำหรับประสิทธิภาพของเม็ดตรึงที่มีอายุการใช้งานอยู่ที่ 48 ชั่วโมงพบว่ามีความแข็งแรงที่ลดลง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
น้ำเสีย -- การบำบัด |
th_TH |
dc.subject |
น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนากระบวนการบำบัดน้ำเสียโรงงานผลิตกระดาษโดยการตรึงเซลล์จุลินทรีย์บนเม็ดตรึงอัลจิเนตในถังปฎิกรณ์ชีวภาพแพคเบดเพื่อกำจัดเซลลูโลสในน้ำเสีย |
th_TH |
dc.title.alternative |
Development of paper mill wastewater treatment by using alginate immobilization with microorganism in pack bed Bioreactor to degradation of cellulose |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
witawat@buu.ac.th |
|
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The improvement of processes of wastewater treatment in paper mill especially the use of bioprocess is the key to make the green industry. First of all, the selection of the cellulose-degraded microorganism by Congo red plate assay method was used. At 48 hours, we found 8 microorganisms which could be degraded cellulose in the assay. Cellulose degradation bacteria (CDB) number 6 has the largest clear zone. Then we use Dinitro Salicylic Acid (DNS) method to test activity of all microorganism by measuring kinetic of degradation cellulose to glucose by using Carbon methyl Cellulose (CMC) and Filter paper (Whatman No.1) to induce cellulose enzyme expression. The result showed that “CDB4” had the best performance to degrade cellulose in both inducers which the enzyme activities were 0.0533 and 0.0456 IU/ml, respectively. Thin-layer chromatography (TLC) method was the qualitative method to measure the cellulose biodegraded profile of CDB4. Moreover, we could not detect any glucose spot on TLC plate. Finally, CDB4 was immobilized in alginate and pack in Packbed Column, 4 mm. of immobilized alginate beads were formed. At 48 hours, the Chemical Oxygen Demand (COD) was decreased from 1171 ppm to 267 ppm. We found immobilized alginate beads were unstable after 48 hours of treatment wastewater |
en |