dc.contributor.author |
อรพรรณ ยอดสะอึ |
|
dc.contributor.author |
นิรามัย ฝางกระโทก |
|
dc.contributor.author |
ศิริลักษณ์ กมลวรรณสิทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
รุ่งนภา แซ่เอ็ง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-05-21T07:59:37Z |
|
dc.date.available |
2019-05-21T07:59:37Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3569 |
|
dc.description.abstract |
จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากลำต้นของต้นธนนไชย สามารถแยกสารได้สารบริสุทธิ์ 1 สาร ซึ่งเป็นสารที่มีรายงานมาก่อน คือ Koaburside และจากการสกัดสารจากส่วนของใบที่สกัดด้วย ไดคลอโรมีเทน (BS1) และเมทานอล (BS2) และจากส่วนของลำต้นที่สกัดด้วยไดคลอโรมีเทน (BS3)
และเมทานอล (BS4) ได้นำมาศึกษาลักษณะของโครมาโตกราฟีและฤทธิ์ทางชีวภาพต่าง ๆ อาทิ
ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟีนอลิกรวม ต้านมะเร็ง ต้านเชื้อแบคทีเรีย และต้านเชื้อรา ซึ่งสารสกัดจากเมธานอลมีปริมาณฟีนอลิกมากกว่าสารสกัดจากไดคลอโรมีเทน โดยสารสกัด BS4 มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงสุด คือ มีค่า EC50 เท่ากับ 7.1±0.1 μg/ml ซึ่งสูงกว่าสารสกัด BS2, BS3 และ BS1 ตามลำดับ
สารสกัดทุกชนิดสามารถยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์จากเซลล์แมคโครเฟจ RAW264.7 ในสภาวะที่มี LPS ชักนำได้ โดยเฉพาะ BS3 (IC50 เท่ากับ 94.47±23.50 µg/ml) สารสกัด BS1 มีความเป็นพิษต่อเซลล์ HaCaT, HepG2, MCF-7 และ MDA-MB-231 มากกว่าสารสกัดชนิดอื่น โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 119.41±4.80, 196.47±41.36, 264.76±8.50 และ 289.81±36.57 μg/ml ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ค่า BS1 มีค่า selectivity index (SI) ต่ ากว่าสารสกัดชนิดอื่น และที่น่าสนใจไปกว่านั้นสารสกัดนี้ สามารถยับยั้งการเจริญของเซลล์ตับชนิด HepG2 ได้ดีกว่าเซลล์มะเร็งเต้านมชนิด MCF-7 และ MDAMB-231 นอกจากนี้สารสกัด BS4 มีค่า SI ของเซลล์ HepG2 เท่ากับ 2.25 ซึ่งสูงกว่าสารสกัด BS2, BS3 และ BS1 (SI เท่ากับ 1.58, 0.88 และ 0.61, ตามลำดับ) ซึ่งสอดคล้องกับฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและสารสกัด BS1 และ BS3 สามารถยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งเหล่านี้ผ่านการชักนำให้เกิดการตายแบบ apoptosis นอกจากนี้ ยังมีอีกหนึ่งสารสกัดคือ BS3 ที่แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียต่อทั้งแบคทีเรียแกรมบวก ได้แก่ B. subtilis, B. cereus, S. epidermidis และ S. aureus และแบคทีเรียแกรมลบ ได้แก่ E. coli และ P. aeruginosa ที่ดีกว่าสารสกัด BS1, BS2 และ BS4 จากการศึกษากลไกในการออกฤทธิ์ของสารสกัด BS3 โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน Transmission electronmicroscopy (TEM) กับเชื้อแบคทีเรีย B. subtilis และ B. cereus พบว่า สารสกัดสามารถทำลายผนังเซลล์ของแบคทีเรียและทำให้แบคทีเรียไม่สามารถเจริญได้ ดังนั้นสารสกัดจากต้นธนนไชยจึงอาจจะเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการศึกษาต่อยอดทางด้านยาสมุนไพรและการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจาก จากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ธนนไชย (พืช) |
th_TH |
dc.subject |
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ |
th_TH |
dc.subject |
ยาสมุนไพร |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
องค์ประกอบทางเคมีและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากธนนไชย |
th_TH |
dc.title.alternative |
Chemical constituents and bioactive compound from buchanania siamensis Miq |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dcterms.publisher |
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว |
|
dc.author.email |
orapun@buu.ac.th |
|
dc.author.email |
niramai@buu.ac.th |
|
dc.author.email |
sirilakk@buu.ac.th |
|
dc.author.email |
rungnaph@buu.ac.th |
|
dc.year |
2559 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The chemical comstituent from the stems of Buchanania siamensis Miq., led to
isolation of one known compound: Koaburside. Its leaves and stems were extracted by
using dichloromethane and methanol and the extracts were called as BS1, BS2, BS3
and BS4, respectively. Thin layer chromatography fingerprint, antioxidant activity, total
phenolic content, anticancer, antibacterial and antifungal activities of the extracts were
studied. The methanolic extracts contained higher total phenolic content than those
of dichloromethane extracts but no significant difference between stems and leaves.
BS4 showed higher antioxidant activity (EC50 of 7.1±0.1 µg/ml) than BS2, BS3 and BS1,
respectively. All extracts inhibited nitric oxide production from LPS-induced RAW264.7
cells especially BS3 by IC50 of 94.47±23.50 µg/ml). BS1 exhibited highest cytotoxicity
against HaCaT, HepG2, MCF-7 and MDA-MB-231 cells by IC50 of 119.41±4.80,
196.47±41.36, 264.76±8.50 and 289.81±36.57 µg/ml, respectively. However, the BS1
showed lower selectivity index (SI) against those cancerous cell lines. Interestingly, the
extracts could significantly inhibit the proliferation of liver hepatocellular cells, HepG2,
stronger than human breast cancer cells, MCF-7 and MDA-MB-231. In addition, SI of
BS4 against HepG2 cells was 2.25 which higher than BS2, BS3 and BS1 (SI of 1.58, 0.88
and 0.61, respectively). Moreover, BS1 and BS3 could inhibit the proliferation of those
cancer cells via apoptotic induction. These results suggested that B. siamensis extracts
have high antioxidant and anticancer activities, especially BS4. The BS3 also exhibited
stronger antibacterial activities against both Gram-positive bacteria: B. subtilis, B. cereus,
S. epidermidis and S. aureus and Gram-negative bacteria: E. coli and P. aeruginosa than
BS1, BS2 and BS4. We further studied the possible mode of action of BS3 against B.
subtilis and B. cereus by observing the bacteria cell morphology through transmission
electron microscopy (TEM). From the TEM results, it was clearly indicated that the cell
walls of B. subtilis and B. cereus were completely deformed. This mechanism of BS3
was correlated to their strong antibacterial activity. Therefore, the results from this
study suggested that BS3 extract may interact with or damage the cell wall of B.
subtilis and B. cereus as seen by the formation of pores on the cell wall of B. subtilis
and B. cereus. Therefore, B. siamensis extracts can be a good candidate for further
studies in herbal medicine and natural product developments |
en |