DSpace Repository

คุณภาพสิ่งแวดล้อมในบริเวณการเกิดปรากฏการณ์แมงกะพรุนหลากสี บริเวณชายฝั่งทะเล จังหวัดตราด

Show simple item record

dc.contributor.author อาวุธ หมั่นหาผล th
dc.contributor.author สุพัตรา ตะเหลบ th
dc.contributor.author ดวงธมลพร นุตเจริญ th
dc.contributor.author วันชัย วงสุดาวรรณ th
dc.contributor.author ขวัญเรือน ศรีนุ้ย th
dc.contributor.author แววตา ทองระอา th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-05-07T02:52:39Z
dc.date.available 2019-05-07T02:52:39Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3550
dc.description.abstract การศึกษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในบริเวณการเกิดปรากฏการณ์แมงกะพรุนหลากสี บริเวณชายฝั่งทะเล จังหวัดตราด จำนวนทั้งสิ้น 6 สถานี (3 บริเวณ) โดยเก็บตัวอย่าง 6 ครั้ง คือ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2558 และเดือนกุมภาพันธ์ มีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคม และกันยายน พ.ศ.2559 เพื่อตรวจวัดคุณภาพน้ำทางด้านกายภาพและเคมี เก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณดังกล่าว มีค่าพิสัยของพารามิเตอร์ต่าง ๆ ดังนี้อุณหภูมิ 30.0-32.7 °C ความเค็ม 10-30 ppt ความเป็นกรด- ด่าง 6.3-8.3 ออกซิเจนละลาย 2.4-7.3 mg/L ความโปร่งแสง 1.0-5.9 m สารแขวนลอย 10-35 mg/L แอมโมเนียทั้งหมด 0.5-412.9 µg-N/L แอมโมเนียรูปที่ไม่มีอิออน ND-11.6 µg-N/L ไนไตรท์ 0.4-164.2 µg-N/L ไนเตรท 1.7-28.0 µg-N/L ฟอสเฟต 1.4-22.9 µg-P/L และซิลิเกต 62.5-1150 µg-Si/L การศึกษาปริมาณของแพลงก์ตอนพืช พบ 3 ดิวิชัน (Division) ได้แก่ Cyanophyta , Chlorophyta และ Chromophyta พบทั้งสิ้น 85 สกุล แบ่งเป็น Class Cyanophyceae 7 สกุล Class Chlorophyceae 6 Class Bacillariophyceae 58 สกุล Class Dictyochophyceae 2 สกุล และ Class Dinophyceae 12 สกุล แพลงก์ตอนพืชสกุลเด่นที่พบในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ Chaetoceros, Bacteriastrum, Nitzschia, Merismopedia, Oscillatoria, Thalassionema, Peridinium, Protoperidinium, Ceratium และ Peridinium ความหนาแน่นเซลลล์ของแพลงก์ตอนพืช พบว่าบริเวณในคลองจะมีความหนาแน่นสูงความ บริเวณปากคลอง ซึ่งความแปรปรวนของทุกพารามิเตอร์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) แต่ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานี เมื่อเปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์คุณภาพน้ำกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งเพื่อการอนุรักษ ์ทรัพยากรธรรมชาติ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject แมงกะพรุน -- ไทย -- ตราด th_TH
dc.subject แพลงก์ตอนพืช -- ไทย -- ตราด th_TH
dc.subject แพลงก์ตอนสัตว์ -- ไทย -- ตราด th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title คุณภาพสิ่งแวดล้อมในบริเวณการเกิดปรากฏการณ์แมงกะพรุนหลากสี บริเวณชายฝั่งทะเล จังหวัดตราด th_TH
dc.title.alternative Marine Environmental quality in Jellyfish Phenomenon in the coastal of Trat Province en
dc.type Research th_TH
dc.author.email arvut@buu.ac.th
dc.author.email taleb@buu.ac.th
dc.author.email wanchai@buu.ac.th
dc.author.email khwanruan@buu.ac.th
dc.author.email waewtaa@buu.ac.th
dc.year 2559 th_TH
dc.description.abstractalternative Marine Environmental quality in Jellyfish Phenomenon in the coastal of Trat Province was investigated 6 times in November 2015 and in February, March, May, July and September 2016. The areas investigated were divided into 6 stations (3 areas). Water samples at each station were collected and analyzed for a range of physical and chemical parameters. The results showed that the water quality along the area were in the following ranges : temperature 30.0-32.7 °C, salinity 10-30 ppt, pH 6.3-8.3, dissolved oxygen 2.4-7.3 mg/L, transparency 1.0-5.9 m, suspended solids 10-35 mg/L, total ammonia 0.5-412.9 µg-N/L, unionized ammonia ND-11.6 µg-N/L, nitrite 0.4-164.2 µg-N/L, nitrate 1.7-28.0 µg-N/L, phosphate 1.4-22.9 µg-P/L and silicate 62.5-1150 µg-Si/L. The density of phytoplankton. The samples were collected Eighty five genera of phytoplankton were found including 7 genera from class Cyanophyceae, 6 genera from Chlorophyceae, 58 genera from class Bacillariophyceae, 2 genus from class Dictyochophyeae and 12 genera from class Dinophyceae. Phytoplankton class Bacillariophyceae was the dominant group. Dominant genera included Chaetoceros,Bacteriastrum, Nitzscia, Merismopedia, Oscillatoria, Thalassionema, Peridinium, Protoperidinium, Ceratium and Peridinium. All water quality parameters were significantly different (P<0.05). These also depended on the time and the stations. Although most of these are still within acceptable ranges set by the Thai Pollution Control Department. The highest density of phytoplankton cells was 1.26 x 109 unit/m3 recorded in May 2016 and the lowest was 8.75 x 105 recorded in February 2016. Totally the density of phytoplankton at inshore stations was higher then the offshore stations. The diversity index was 0.07-2.61, the average was 1.41. The evenness index was 0.02-0.83, the average 0.44. Generally, the highest diversity index and evenness index was in September. The maximum biology index was found at the Khaolan (inshore) station. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account