dc.contributor.author |
ไพฑูรย์ มกกงไผ่ |
|
dc.contributor.author |
อาวุธ หมั่นหาผล |
|
dc.contributor.author |
วันชัย วงสุดาวรรณ |
|
dc.contributor.author |
สุกานดา ทับเมฆา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-05-03T10:56:29Z |
|
dc.date.available |
2019-05-03T10:56:29Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3546 |
|
dc.description.abstract |
การปนเปื้อนของสารโพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน (พีเอเอช) ในสัตว์น้ำชายฝั่งทะเล บริเวณภาคตะวันออก ทําการเก็บตัวอย่างหอยแมลงภู่ ตะกอนดินและปลาทะเลศึกษาระหว่างเดือน ตุลาคม 2558 ถึงเดือนมีนาคม 2559 พบความเข้มข้นของสารพีเอเอชรวม ที่สะสมในหอยแมลงภู่ขนาด เล็กในฤดูฝนโดยเฉลี่ย 0.170±0.111, 0.211±0.106 และ 0.187±0.147 ไมโครกรัม/กรัม (น้ำหนักแห้ง) ในหอยแมลงภู่ขนาดใหญ่โดยเฉลี่ย 0.098±0.048, 0.180±0.156 และ 0.159±0.087 ไมโครกรมั/กรัม (น้ำหนักแห้ง) ในบริเวณอ่างศิลา ศรีราชาและมาบตาพุด ตามลําดับ ขณะที่ในฤดูแล้งพบการสะสมสารพี เอเอชรวม ในหอยแมลงภู่ขนาดเล็กโดยเฉลี่ย 3.473±1.437, 1.471±0.931 และ 0.258±0.156 ไมโครกรัม/กรมั (น้ำหนักแห้ง) ในหอยแมลงภู่ขนาดใหญ่โดยเฉลี่ย 2.510±1.681, 0.558±0.429 และ 0.705±1.058 ไมโครกรัม/กรัม (น้ำหนักแห้ง) บริเวณอ่างศิลา ศรีราชาและมาบตาพุดตามลําดับ ผลจากการศึกษาแสดงให้ทราบว่าฤดูกาล สถานที่และขนาดมีอิทธิพลร่วมกัน ต่อการปนเปื้อนของสารพีเอเอชรวม ในเนื้อเยื่อหอย และในฤดูแล้งหอยแมลงภู่ขนาดเล็กบริเวณอ่างศิลามีการปนเปื้อนสารพีเอเอชรวมอยู่สูง แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ตะกอนดินจากแหล่งเลี้ยงหอยแมลงภู่ทั้ง 3 พื้นที่ พบมีปริมาณของสารพีเอเอชรวม ปนเปื้อนใน ฤดูฝนโดยเฉลี่ย 0.901±0.570, 0.901±0.570 และ 0.877±1.063 ไมโครกรมั/กรัม (น้ำหนักแห้ง) ขณะที่ในฤดูแล้ง พบการปนเปื้อนของสารพีเอเอชรวม โดยเฉลี่ย 0.529±0.554, 0.530±0.553 และ 0.727±0.838 ไมโครกรัม/กรัม (น้ำหนักแห้ง) ในบริเวณอ่างศิลา ศรีราชาและมาบตาพุด จังหวัดระยอง ตามลําดับ ผลการศึกษาแสดงให้ทราบว่าทั้งฤดูกาลและสถานที่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ การปนเปื้อนสาร พีเอเอชรวม ในปลาทะเลบริเวณชายฝั่งอ่าวพร้าวของเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง จากตัวอย่างปลา 10 ชนิด ผลการศึกษาในฤดูฝน พบสารพีเอเอชรวม ปนเปื้อนโดยปริมาณเฉลี่ย 0.044±0.065 และ 0.053±0.068 ไมโครกรัม/กรัม (น้ำหนักแห้ง) ของแนวใกล้ฝั่งและห่างฝั่งตามลําดับ ขณะที่ในฤดูแล้ง พบปริมาณสารพีอเอชรวม โดยเฉลี่ย 0.165±0.360 และ 0.115±0.308 ไมโครกรัม/ กรัม (น้ำหนักแห้ง) ของแนวใกล้ฝั่งและห่างฝั่งตามลําดับ ผลการศึกษาแสดงให้ทราบว่าฤดูกาลมีผลต่อการ ปนเปื้อนสารพีเอเอชรวม ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยพบในฤดูแล้งปริมาณสูง กว่าในฤดูฝน ผลจากการศึกษาแสดงถึงระบบนิเวศทางทะเลมีการปนเปื้อนด้วยสารมลพิษโดยเฉพาะสาร ในกลุ่มปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนอยู่อย่างต่อเนื่องสถิติ อย่างไรก็ตามไม่พบสารพีเอเอชรวม ในกลุ่มที่ก่อให้เกิดมะเร็ง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
โพลิไซคลิกอะโรมาติคไฮโดรคาร์บอน -- แง่สิ่งแวดล้อม |
th_TH |
dc.subject |
สัตว์น้ำ -- การปนเปื้อน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การประเมินสถานการณ์การปนเปื้อนสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (พีเอเอช) ในสัตว์น้ำชายฝั่งทะเล บริเวณภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Situation Assessment of contaminated Polycyclic Aromatic hydrocarbons (PAHs) in marine organism from the Eastern coast |
th_TH |
dc.type |
Research |
en |
dc.author.email |
mokk_pp@hotmail.com |
|
dc.author.email |
arvut@buu.ac.th |
|
dc.author.email |
wanchai@bims.buu.ac.th |
|
dc.year |
2559 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The contamination of polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) in marine organisms and sediments from the Eastern coast from eastern coast in Chonburi and Rayong province, Thailand between October 2015 and March 2016 was investigated. The concentration levels of PAHs in small size of Green mussel (Perna viridis) samples from Ang Sila, Sriracha and Mabtaput in the rainy season were 0.170±0.111, 0.211±0.106 and 0.187±0.147µg/g (dry weights) in average and those in large size were 0.098±0.048, 0.180±0.156 and 0.159±0.087 µg/g (dry weights). The samples collected in the dry season from Ang Sila, Sriracha and Mabtaput showed that the average concentration levels in dry weight of PAHs in small size mussel were 3.473±1.437, 1.471±0.931 and 0.258±0.156 µg/g (dry weights) and in large size were 2.510±1.681, 0.558±0.429 and 0.705±1.058 µg/g (dry weights) The result were suggested that PAHs contaminated in mussels during the two seasons of all stations were not significantly. Interaction in all factors including season, station and sizes had an effect on the contamination of PAHs. The highest concentration of PAHs was found in the dry season at Ang Sila. The concentration levels of PAHs in sediment samples collected from Ang Sila, Sriracha and Mabtaput in the rainy season were 0.901±0.570, 0.901±0.570 and 0.877±1.06 147µg/g (dry weights) in average while, in dry season were 0.529±0.554, 0.530±0.553 and 0.727±0.838 µg/g (dry weights). The result suggested that PAHs contaminated in sediments in both two seasons of all areas were not significantly different. The contamination of PAHs in fish tissue samples from Ao-Prao of Ko Samet, Rayong province showed that the average in the rainy season were 0.044±0.065 and 0.053±0.068 µg/g while, In the dry season were 0.165±0.360 and 0.115±0.308 µg/g from the near shore and the off shore zones respectively. The results suggested that PAHs contaminated in fish tissues during the two seasons of all zones were significant differences between seasons and had not significantly different the zone. The highest concentration of PAHs was found in the dry season of all zones. The result suggested that PAHs continually contaminated in marine ecology but, no PAHs carcinogenic group was found |
en |