DSpace Repository

ผลของด่างเร่งปฏิกิริยาต่อกําลังอัดคอนกรีตบล็อคชนิดรับนํ้าหนักจากเถ้าแกลบ

Show simple item record

dc.contributor.author วิเชียร ชาลี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-05-02T09:02:28Z
dc.date.available 2019-05-02T09:02:28Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3537
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ต่อกำลังอัดของคอนกรีตบล็อคจากวัสดุประสานจากเถ้าแกลบ ( ํ RHA) โดยใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 0, 0.25, 0.50 และ 0.75 โมลาร์ เป็นสารเร่งปฏิกิริยาปอซโซลานในคอนกรีตบล็อคจากเถ้าแกลบ ใช้เถ้าแกลบที่ได้จากโรงงานโดยตรงเป็นวัสดุปอซโซลานแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ในอัตราส่วนร้อยละ 40, 50 และ 60 โดยนํ้าหนักวัสดุประสาน และใช้หินฝุ่นเป็นมวลรวม โดยใช้อัตราส่วนระหวางวัสดุประสานต่อหินฝุ่นเท่ากบ 1:6 โดย น้ำหนัก เตรียมคอนกรีตบล็อคจากเถ้าแกลบโดยใช้เครื่องอัดชนิดซินวา-แรม หลังจากนั้นบ่มคอนกรีตบล็อคในอากาศที่อุณหภูมิห้องจนถึงอายุทดสอบ โดยทดสอบกาลังอัดของคอนกรีตบล็อคจากเถ้า แกลบที่อายุ 7, 14 และ 28 วัน ตลอดจนทดสอบการดูดซึมนํ้าในคอนกรีตบล็อคที่อายุทดสอบ 28 วัน ผลการศึกษาพบว่า การใช้สารสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่มีความเข้มข้นสูงไม่เกิน 0.5 โมลาร์ มีผลให้คอนกรีตบล็อคมีกาลังอัดสูงขึ้น อย่างไรก็ตามกำลังอัดของคอนกรีตบล็อคจากเถ้าแกลบมี แนวโน้มลดลง เมื่อใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นสูงขึ้นเป็น 0.75 โมลาร์ การใช้เถ้าแกลบในปริมาณที่มากขึ้น มีผลทําให้กำลังอัดของคอนกรีตบล็อคลดลงอยางชัดเจน นอกจากนั้นร้อยละ การดูดซึมน้ำในคอนกรีตบล็อคจากเถ้าแกลบมีแนวโน้มสูงขึ้นตามกำลังอัดที่ลดลง th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คอนกรีตบล็อก th_TH
dc.subject คอนกรีตผสมขี้เถ้าแกลบ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title ผลของด่างเร่งปฏิกิริยาต่อกําลังอัดคอนกรีตบล็อคชนิดรับนํ้าหนักจากเถ้าแกลบ th_TH
dc.title.alternative Effect of alkaline activator on compressive strength of hollow load-bearing concrete masonry blocks from rice husk ash en
dc.type Research th_TH
dc.author.email wichian@buu.ac.th
dc.year 2560 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aimed to study the effects of NaOH concentrations on compressive strength of concrete masonry blocks from rice husk ash (RHA). NaOH concentrations of 0, 0.25, 0.50 and 0.75 molar were used as an alkaline activator in pozzolanic reaction of RHA concrete masonry blocks. Original RHA was used as a pozzolanic material to replace Portland cement type I at 50, 60 and 70% by weight of the binder. The ratio of 1:6 by weight of binder : dust limestone were used as an aggregate. The RHA concrete masonry blocks were prepared by using the Cinva-Ram machine. The samples were air cured at room temperature until the age test. The RHA concrete masonry block was tested for compressive strength at 7, 14, and 28 days. In addition, water absorption of concrete masonry blocks was tested at 28 days. The results revealed that compressive strength of RHA concrete masonry blocks tends to increases with the NaOH concentration up to 0.5 molar. However, the compressive strength of RHA concrete masonry blocks decreases when NaOH concentration up to 0.75 molar is used in the mixture. The increase of RHA replacement in concrete masonry block clearly decreased the compressive strength of concrete masonry block. In addition, the water absorption of RHA concrete masonry block was found to increase with the decrease of compressive strength en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account