DSpace Repository

การผลิตไบโอเซลจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพ

Show simple item record

dc.contributor.author สาลินี ศรีวงษ์ชัย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-04-21T03:56:06Z
dc.date.available 2019-04-21T03:56:06Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3520
dc.description.abstract ก้อนเชื้อเห็ดเก่าเป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากอุตสาหกรรมการผลิตเห็ดซึ่งเป็นวัสดุลิกโน เซลลูโลสที่ประกอบด้วยเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลสและลิกนิน วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้ เพื่อการผลิตน้ำตาลรีดิวซ์จากก้อนเชื้อเห็ดเก่าเห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus) และก้อนเชื้อเห็ดเก่าเห็ดนางนวล (Pleurotus djamor) โดยการปรับสภาพด้วยความร้อนชื้นภายในหม้อนึ่งความดันไอน้ำที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ความดันบรรยากาศ เวลา 15 นาที สารละลายกรด ซัลฟูริกเข้มข้นร้อยละ 1 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นร้อยละ 1 ความร้อนชื้นร่วมกับสารละลายกรดซัลฟูริกและความร้อนชื้นร่วมกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์และวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมีของก้อนเชื้อเห็ดเก่า พบว่าการใช้ความร้อนชื้นที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ความดันบรรยากาศ เวลา 15 นาทีร่วมกับสารละลายกรดซัลฟูริกเข้มข้นร้อยละ 1 ให้ปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์ทั้งหมดสูงสุดเท่ากับ 1,255 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และ 591 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลําดับ ปริมาณเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลสและลิกนินลดลงหลังจากการปรับสภาพ การผลิตลิพิดของยีสต์ไขมันสูง R. mucilaginosa ที่คัดแยกได้จากดินตะกอนป่าชายเลนบนอาหารเลี้ยงเชื้อสูตรดัดแปลง lipid accumulation medium (LAM) ที่มีน้ำตาลรีดิวซ์เป็นแหล่งคาร์บอน ค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้นของอาหารเลี้ยงเชื้อเท่ากับ 5.0 และบ่มเพาะเลี้ยงแบบเขย่าที่ 150 รอบต่อนาทีอุณหภูมิห้อง ระยะเวลา 120 ชั่วโมง พบว่ายีสต์ไขมันสูงสามารถเจริญและผลิตลิพิดได้เท่ากับ 1.08+0.07 และ 0.53+0.02 กรัมต่อลิตร ตามลําดับ และ 0.21+0.05 และ0.10+0.07 กรัมต่อลิตร ตามลําดับ องค์ประกอบของลิพิดที่สกัดได้มีกรดไขมันชนิดสายยาวเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่ กรดปาล์มิติก กรดสเตียริกและกรด โอเลอิกเช่นเดียวกับที่พบในน้ำมันพืช ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาจะใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสําหรับ การพัฒนาการผลิตน้ำตาลรีดิวซ์ของก้อนเชื้อเห็ดเก่าร่วมกันระหว่างการปรับสภาพด้วยวิธีทางกายภาพ ทางเคมีและทางชีวภาพต่อไป th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว th_TH
dc.subject เชื้อเพลิงไบโอดีเซล th_TH
dc.subject เชื้อเพลิงไบโอดีเซล -- การผลิต th_TH
dc.subject เชื้อเพลิงไบโอดีเซล -- เทคโนโลยีชีวภาพ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การผลิตไบโอเซลจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพ th_TH
dc.title.alternative Biodiesel production from agricultural wastes by using biotechnological process en
dc.type Research
dc.author.email salinee@buu.ac.th
dc.year 2560
dc.description.abstractalternative Spent mushroom substrate (SMS), the agricultural waste is a remnant of the production of mushroom industry and lignocellulosic byproducts containing cellulose, hemicellulose and lignin. This study aimed to produce sugar reducing from SMS produced by Pleurotus ostreatus and Pleurotus djamor cultivation by using liquid hot water in autoclave with temperature and pressure at 121 ○ C and 15 atm for 15 min, 1% sulfuric acid solution, 1% sodium hydroxide solution, and combination of acid and alkali treatment in autoclave with temperature and pressure at 121 ○C and 15 atm for 15 min, and determined the chemical composition. The results showed that under the best treatment condition at 1% sulfuric acid solution at 121○ C, 15 atm for 15 min lend the highest total reducing sugar 1,255 μg/ml, and 591 μg/ml, respectively. The amount of cellulose hemicelluloses and lignin was reduced after pretreatment compared to SMS before treatment. Lipid production of oleaginous yeast derived-soil mangrove on modified lipid accumulation medium (LAM) contained extracted reducing sugar as carbon source at 150 rpm; room temperature for 120 hours with initial pH 5.0. The results showed that the dry biomass and lipid yield were 1.08+0.07 g/L and 0.53+0.02 g/L, respectively, and 0.21+0.05 g/L and 0.10+0.07 g/L, respectively. The accumulated lipids predominantly contained long chain fatty acids such as palmitic acid, stearic acid and oleic acid that comparable to conventional vegetable oils. Based on the data is useful for developing to enhance reducing sugar production of SMS en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account