DSpace Repository

ผลกระทบของการใช้เถ้าลอยเปียกต่อกำลังอัดและความต้านทานคลอไรด์ของคอนกรีต

Show simple item record

dc.contributor.author ทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-04-18T03:09:23Z
dc.date.available 2019-04-18T03:09:23Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3510
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาความต้านทานคลอไรดแ์ละกำลังอัดของคอนกรีตที่ผสมเถ้าลอยเปียกใช้ อัตราส่วนน้ำต่อวัตถุประสาน 0.50 และ 0.60 อัตราการแทนที่เถ้าลอยต่อวัตถุประสาน ร้อยละ 20, 40 และ 60 โดยความชื้นในเถ้าลอยเปียกเท่ากับ ร้อยละ 60 โดยน้ำหนัก ระยะเวลาสัมผัสความชื้นของเถ้าลอยเปียก 1 เดือน ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 เป็นวัสดุประสานหลัก ทำการหล่อ ตัวอย่างคอนกรีตรูปทรงลูกบาศก์ขนาด 10 x 10 x 10 ซม3 สําหรับทดสอบกำลังอัดคอนกรีตที่อายุ 28, 56 และ 91 วัน และหล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงกระบอกขนาด 10×20 ซม 2 สําหรับทดสอบการแทรกซึมคลอไรด์แบบเร่งของคอนกรีตที่อายุ 28, 56 และ 91 วัน และการแทรกซึมคลอไรด์ของ คอนกรีตที่แช่ในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 3.0% เป็นเวลา 28, 56 และ 91 วัน ภายหลัง การบ่มน้ำ 28 วัน จากผลการทดลองพบว่าการใช้เถ้าลอยเปียกแทนที่บางส่วนของปริมาณวัสดุประสานในคอนกรีตทำให้ความต้นทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตดีขึ้นและกำลังอัดของคอนกรีตสูงขึ้น การใข้เถ้าลอยเปียกแทนที่วัสดุประสานร้อยละ 40 ทาํให้คอนกรีตมีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ดีที่สุด ขณะที่การใช้เถ้าลอยเปียกแทนที่วัสดุประสานร้อยละ 20 ทำให้คอนกรีตมีกำลังอัดที่ดีที่สุด คอนกรีตที่ผสมเถ้าลอยเปียกที่อัตราส่วนน้ำ ต่อวัสดุประสานต่ำมีความต้านทานการแทรก ซึมคลอไร์ดีกว่า ที่อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานสูง th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คอนกรีตผสมขี้เถ้าลอย th_TH
dc.subject ขี้เถ้าลอย th_TH
dc.subject คลอไรด์ th_TH
dc.subject คอนกรีต th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title ผลกระทบของการใช้เถ้าลอยเปียกต่อกำลังอัดและความต้านทานคลอไรด์ของคอนกรีต th_TH
dc.title.alternative Effect of the use of wet fly ash on compression strength and chloride resistance of concrete th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email twc@buu.ac.th th_TH
dc.year 2561 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aims to study the chloride penetration resistance and compressive strength of concrete containing wet fly ash. The ratios of water to binder were kept at 0.50 and 0.60. The wet fly ash was used in binder replacement content at 20%, 40% and 60% by weight. The moisture content of wet fly ash was 60% by weight of fly ash. The moisture exposure period of fly ash was one month. Cube specimens of 10×10×10 cm3 size were cast for compressive strength test of concrete at 28, 56 and 91 days. Cylindrical specimens of 10-cm diameter and 20-cm height were cast for rapid chloride penetration test of concrete at 28, 56 and 91 days and chloride penetration test of concrete submerged in 3.0% solution of sodium chloride for 28, 56 and 91 days after curing in pure water for 28 days. From the experimental results, it was found that the use of partial replacement of wet fly ash in binder content of concrete results in better chloride penetration resistance and higher compressive strength. The replacement of wet fly ash in concrete at 40% of binder gives the highest chloride penetration resistance, while the replacement of wet fly ash in concrete at 20% of binder gives the highest compressive strength. Concretes containing wet fly ash at low water to binder ratio have better chloride penetration resistance than those at high water to binder ratio th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account